Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/693
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสรวง พฤติกุล | th_TH |
dc.contributor.author | เจนต์ คันทะ, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T11:45:14Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T11:45:14Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/693 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคการบริหารงานประชาสัมพันธ์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏใน 6 ด้าน คือ ด้านนโยบายและการวางแผน ด้านโครงสรัางองค์กร ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านการปฎิบัติงาน และด้านการประเมินผล เสนอแนวทางการบริหารงานประชาสัมพันธ์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ผู้ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์จำนวน 39 คน และกลุ่มตัวอย่างคือผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเลือกจาก 8 ภูมิภาค จำนวน 8 คน ผู้มีประสบการณ์ในงานประชาสัมพันธ์บริการห้องสมุด จำนวน 5 คน และผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเลือกแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี ความสอดคล้อง และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการพรรณนาผลการวิจัยพบว่า ผู้ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์มีความเห็นว่าสภาพการบริหารงานประชาสัมพันธ์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ได้ปฏิบัติงานจริง โดยรวมในระดับมากคือ ด้านการปฏิบัติงาน (x = 3.77) ระดับปานกลางคือ ด้านนโยบายและการวางแผน (x = 2.93) ส่วนที่เหลืออีก 4 ด้านเห็นว่าได้ปฏิบัติจริงในระดับน้อยและคาดหวังให้ปฏิบัติในระดับมากที่สุคคือ ด้านการปฏิบัติงาน (x = 4.56) ส่วนอีก 5 ด้าน คาดหวังให้ปฏิบัติในระดับมาก ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญคือ ไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบการบริหารงานประชาสัมพันธ์โดยเฉพาะทำให้มีปัญหาด้านอื่น ๆ ผู้มีประสบการณ์ในงานประชาสัมพันธ์บริการห้องสมุดมีความคิดเห็นสอดคล้องกับการบริหารงานการประชาสัมพันธ์ที่กำหนดไว้และผลจากการวิจัยได้นำมาพัฒนาแนวทางการบริหารงานประชาสัมพันธ์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ห้องสมุด--การประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.title | การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎ | th_TH |
dc.title.alternative | Public relations administration of the Academic Resources and Information Technology Offices at Rajabhat Universities | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study the conditions, problems and obstacles for administering public relations (PR) of the Academic Resources and Information Technology (ARIT) Offices at Rajabhat Universities within 6 topics: planning and policy, organization, personnel, budgeting, operation, and evaluation. Then guidelines for administrating public relations for ARIT Offices at Rajabhat Universities were proposed. This research was quantitative and qualitative. 39 officers who were responsible for PR were the population of this study. Sampling groups were 8 selected directors of ARIT Offices, 5 selected persons with experience in library service PR, and 5 selected director of ARIT offices. Questionnaires and interview questions were the tools for data collecting. The statistics used for analyzing data were percentage, means, standard deviation, Index of Congruence (IOC) and qualitative data were transcribed, categorized and summarized. It was found that the actual practice of the PR at high level was operation of the PR (X = 3.77) and at moderate level was planning and policy (X = 2.93) and the rest of actual practices were at low level. The action expect to be done at the highest level wras the operation of the PR (x = 4.56) and the rest were at high level. The major problem was that there was no PR responsible unit. This problem had caused the other problems and obstacles in administering the PR. The opinions of the persons with experience in library service PR were also congruent with the PR proposed guidelines. Then the findings of the research were used for developing the PR guidelines for the ARIT Offices of Rajabhat Universities. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | วรนุช สุนทรวินิต | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (10).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License