Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6945
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดิเรก อัสถิ, 2509-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T02:28:20Z-
dc.date.available2023-06-30T02:28:20Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6945-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อ และกระดาษในเขต ภาคกลาง (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วน บุคคลและปัจจัยด้านองค์การและการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานใน โรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษในเขตภาคกลาง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษในเขต ภาคกลาง จาก 14 บริษัท/โรงงาน ซึ่งทำการเลือกในแต่ละโรงงานจะต้องมีพนักงานปฏิบัติงาน ภายในโรงงานตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป เป็นจำนวนทั้งสิ้น 6,036 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงาน ปฏิบัติงาน โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 380 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตามวิธีแบบโควต้า เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.896 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ส่วนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วย วิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติในทิศทางเดียวกันและการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ในภาพรวมอยู่ใน ระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าพนักงานมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านผลลัพธ์ในการปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการการบริหาร และด้านต้นทุน ตามลำดับ (2) ปัจจัย ส่วนบุคคลที่ต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม ผลิตเยื่อและกระดาษในเขตภาคกลางไม่แตกต่างกัน ปัจจัยด้านองค์การและการปฏิบัติงานมี ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเยื่อและ กระดาษในเขตภาคกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.403en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ -- การทำงานth_TH
dc.subjectพนักงาน -- การทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษในเขตภาคกลางth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to performance efficiency of employees of pula and paper industries in the Central Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the levels of performance efficiency of employees of pulp and paper industries in the central region; and (2) to study the relationships among personal, organizational and performance factors and performance efficiency of employees of pulp and paper industries in the central region. The population consisted of 6,036 employees selected from 14 pulp and paper industries in the central region and each company employed more than 200 employees. The samples were 380 operational employees selected by using Yamane’s formula and quota sampling method. The questionnaire with the 0.896 confidence value was used for data collection. The data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way ANOVA, and Pearson Product Moment Correlation. The results showed that (1) overall the performance efficiency of employees was at the moderate level. The result of performance, administration processes, and cost issues were rated the moderate level respectively; and (2) the different personal factors affected no difference in performance efficiency of employees of pulp and paper industries in the central region. The organizational and performance factors related to performance efficiency of employees of pulp and paper industries in the central regionen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139738.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons