Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเยาวรัชย์ พรประสิทธิ์, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T02:51:38Z-
dc.date.available2023-06-30T02:51:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6951-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตกลุ่ม กรุงเทพใต้ (2) ความแตกต่างของระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตกลุ่มกรุงเทพใต้ (3) เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตกลุ่มกรุงเทพใต้ (4) เพื่อเสนอแนะแนวทาง และมาตรการต่างๆ ในการทำให้การจัดการความรู้ของสำนักงานเขตกลุ่มกรุงเทพใต้ ให้ประสบ ความสำเร็จมากยิ่งขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบไม่ทดลอง โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการสานักงานเขตทั้ง 10 สำนักงานเขตในกลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 1,234 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตาม แนวคิดของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 302 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถามชนิดให้ เลือกตอบ และแบบสอบถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ รวมทั้งผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารสำนักงานเขต ที่ นำการจัดการความรู้ไปใช้ ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตกลุ่มกรุงเทพใต้ อยู่ใน ระดับสูงมากกว่าร้อยละ 80 (2) ระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ของแต่ละสำนักงานเขตในกลุ่มกรุงเทพใต้มีความ แตกต่างกัน (3) ปัจจัยด้านองค์การ และปัจจัยด้านบุคคลที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขต กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 7 ตัวแปร ได้แก่ กระบวนการจัดการความรู้ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ทีมงาน ด้านการจัดการความรู้ สมรรถนะของบุคลากร ภาวะผู้นำความชัดเจนของแผนและกลยุทธ์ด้านการจัดการความรู้ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่สนับสนุนการจัดการความรู้ โดยทั้ง 7 ตัวแปร สามารถอธิบายตัวแปรตามที่มี ความสัมพันธ์กันได้ร้อยละ 74.50 ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (4) จากผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะดังนี้ คือ ผู้บริหารควรส่งเสริม ผลักดัน และสนับสนุนทรัพยากรเกี่ยวกับการจัดการความรู้ มีการจัดตั้งทีมงานด้านการจัดการความรู้ พร้อมทั้งส่งเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ให้กับข้าราชการ และพิจารณาสมรรถนะของข้าราชการ เพื่อนำไปสู่การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร พัฒนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.359en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ของกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา สำนักงานเขตกลุ่มกรุงเทพใต้th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting to the success of knowledge management Bangkok metropolitan administration : a case study of Southern Bangkok Clusterth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study the level of implementing knowledge management in Southern Bangkok Cluster (2) compare the success level of different Southern Bangkok Cluster (3) study factors influencing the success of implementing knowledge management in Southern Bangkok Cluster (4) recommend appropriate approach and measure to enhance the success of knowledge management of Southern Bangkok Cluster. This study was a survey research. Population consisted of 1,234 officers in 10 District Offices in Southern Bangkok Cluster, from which samples of 302 were drawn. Instruments used were questionnaire and interview. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and multiple regression analysis. Research results revealed that: (1) the success of implementing knowledge management in Southern Bangkok Cluster was more than 80 percent; (2) success levels of different Southern Bangkok Cluster were different with 0.05 level of statistical significance; (3) seven independent variables of organization factors and personal factors which were: knowledge management process, KM knowledge, knowledge management team, competency, leadership, clarity of knowledge management strategic and information technology and communication, positively influenced the success of knowledge management implementation in Southern Bangkok Cluster, the relationship was 74.50 percent at 0.05 level of statistical significance (4) recommendations were: the management should promote, enforce and support knowledge management facilities, appoint knowledge management team, foster officers' understanding on knowledge management implementation, consider officers' competencies so consequently knowledge exchange would be enhanced which would finally lead to the institutionalize of learning organization of Southern Bangkok Clusteren_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140319.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons