Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนภัทร ประดับทอง, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T03:08:06Z-
dc.date.available2023-06-30T03:08:06Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6955-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำคัญของการตัดสินซื้อปุ๋ยทางใบ ของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด (2) ศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาด ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยทางใบ ของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด (3) เปรียบเทียบการตัดสินใจซื้อปุ๋ยทางใบของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อปุ๋ยทางใบ ของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด จำนวน 7,110 ครัวเรือน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณตามสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ 400 ครัวเรือน เลือกตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการตัดสินซื้อปุ๋ยทางใบของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด โดยภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดผลิตภัณฑ์ปุ๋ยทางใบ ของ เกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด โดยภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านการจัด จำหน่าย ตามลำดับ (3) เกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด ที่มีเพศ สถานภาพ และอายุ แตกต่างกัน มีการตัดสินใจซื้อปุ๋ยทางใบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ปัจจัยส่วนประสม การตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ด้านช่องทางการตลาด และด้านการส่งเสริมทางการตลาด ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อปุยทางใบของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราด ได้รอยละ 45.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectปุ๋ย--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อปุ๋ยทางใบของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด จังหวัดตราดth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting decision making to buy a foliar fertilizer of mangosteen growers in Trat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the importance level of decision marking to buy a foliar fertilizer of mangosteen growers in Trat Province (2) to study the importance level of marketing mix factors of foliar fertilizer products in Trat Province (3) to compare the importance level of decision making to buy a foliar fertilizer of mangosteen growers in Trat Province classified by personal factors; and (4) to study the marketing mix factors influencing decision making to buy a foliar fertilizer of mangosteen growers in Trat Province. This study was a survey research. Population was 7,110 mangosteen growers in Trat Province. Sample size was determined at 400 samples and selected by multistage sampling method. The questionnaire was used as a tool to collect data. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance with LSD and multiple regression analysis. The results showed that: (1) the importance level of decision making to buy a foliar fertilizer of mangosteen growers in Trat Province is at moderate (2) the importance level of marketing mix factors of foliar fertilizer products in Trat Province was at moderate. When considering each aspect, it was found that product was at highest mean, followed by price, promotion, and distribution channel (3) mangosteen growers in Trat Province who were different in gender, status, and age showed the difference in decision making level to buy a foliar fertilizer with statistically significant at .05; and (4) the marketing mix factors in term of product, distribution channel and promotion affected the decision making to buy a foliar fertilizer of mangosteen growers in Trat Province with statistically significant at .05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158816.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons