Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิทยา ศิริ, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T03:58:03Z-
dc.date.available2023-06-30T03:58:03Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6971-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะธุรกิจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา (2) ระดับความสาคัญของปัจจัยการดำเนินงานที่มีผลต่อความสำเร็จ ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดสงขลา (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการ ดำเนินงานกับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ขึ้นจดทะเบียน การค้ากับ สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสงขลา จำนวน 6,513 คน (ข้อมูล ณ มีนาคม 2555) โดยสุ่มจำนวน 400 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีความ เชื่อมั่น ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.9635 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ลักษณะธุรกิจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดสงขลา พบว่า ส่วนมากเป็นธุรกิจประเภทกิจการให้บริการ ผู้ประกอบการจำนวนมากมีประสบการณ์ ในการทาธุรกิจไม่ถึง 10 ปี และไม่เป็นสมาชิกของสมาคมธุรกิจ ซึ่งดาเนินธุรกิจแบบบุคคลธรรมดาและ มีพนักงาน 1 – 15 คน โดยมีมูลค่าสินทรัพย์ถาวร จำนวน 1 – 50 ล้านบาท (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยการ ดำเนินงานที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดสงขลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ให้ความสำคัญมาก ที่สุด รองลงมาคือด้านการจัดการและด้านการผลิต การบริการและการค้า ส่วนด้านการตลาดให้ความสำคัญ น้อยที่สุด (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการดำเนินงานกับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ในจังหวัดสงขลา พบว่า มีความสัมพันธ์ค่อนข้างสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัย การดำเนินงานมีผลทางบวกต่อความสำเร็จ ด้านประสิทธิภาพค่อนข้างสูงแต่มีผลทางบวกต่อความสำเร็จ ด้านเศรษฐกิจในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.349en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดกลางth_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดย่อมth_TH
dc.subjectผู้ประกอบการวิสาหกิจth_TH
dc.subjectความสำเร็จทางธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeKey success factors of small and medium enterprises (SMEs) entrepreneurs in Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) business sector of Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs in Songkhla Province; (2) the level of operational factors affecting the success of Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs in Songkhla Province; and (3) the relationship between operational factors and key success factors toward the Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs in Songkhla Province. The research population was 6,513 Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs who registered with the Department of Business Development, Songkhla Province (Data in March 2012). The samples consisted of 400 entrepreneurs using multi-stage sampling. The instrument used for collecting data was a questionnaire with reliability analysis and α confident at 0.9635. Statistical analysis included percentage, mean, standard deviation and simple correlation by Pearson. The result of the research revealed as followings: (1) the majority of the business sectors of respondents were service business with less than 10 years of business experiences. The respondents were not the members of any business association. They set up a business as an ordinary person business with 1- 15 employees and 1-50 million baht of fixed assets. (2) The level of operational factors affecting the success of Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs in Songkhla Province was at a high level. Human resource management aspect was affected at the highest level, followed by management and production, services and trading while marketing was at the lowest level. (3) The relationship between operational factors and key success factors toward the Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs in Songkhla Province was highly correlated with a significance level at 0.01. The operational factors affected efficiency of performance positively at a high level while affected economic performance positively at a medium to high levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140328.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons