Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฏฐ์พัชร์ ทรัพย์ศรี, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T04:12:58Z-
dc.date.available2023-06-30T04:12:58Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6975-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)วิเคราะห์ค้านความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ค้านพื้นที่ และค้านเทคนิค และ (2) ประเมินความคุ้มค่าทางการเงินในการลงทุนติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ ในเขื่อนภูมิพล สังกัดการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย อ.สามเงา จ.ตาก การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์และคำนวณ จากข้อมูลงบประมาณการใช้ไฟฟ้าของแต่ละอาคาร ณ เขื่อนภูมิพล ตั้งแต่ปี 2555-2560 และขอมูลที่เกี่ยวกับการติดตั้งระบบโซลาเซลล์ โดยทำการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางด้านกายภาพ ด้านภูมิศาสตร์ และด้านเทคนิค และด้านการเงิน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนการลงทุนภายใน ระยะเวลาการคืนทุน และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน ผลการศึกษาพบว่า (1) ศักยภาพเชิงเทคนิคของระบบผลิตไฟฟาโซล่าเซลล์บนหลังคาอาคาร เขื่อนภูมิพล โดยคัดเลือกอาคาร จากทั้ง 28 อาคารในพื้นที่เขื่อนภูมิพล อาคารที่ได้รับคัดเลือกผ่าน เกณฑ์การคัดกรองทั้งทางด้านความเข้มโซลาเซลล์และด้านพื้นที่ ทำให้มีพื้นที่การติดตั้งที่เหมาะสมและการเข้าถึงความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ผลที่ได้พบว่าผลรวมของศักยภาพด้านเทคนิค จำนวน 5 อาคารที่ศึกษา อยู่ที่ 2,551.80 kWh/day (2) ด้านการเงินที่อัตราส่วนลด 7% พบว่า มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ 204,562.19 บาท ระยะเวลาการคืนทุนจำนวน 8-9ปี อัตราผลตอบแทนภายใน 8-9% อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน 1.129 และเมื่อเปรียบเทียบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานโซล่าเซลล์และความต้องการการใช้ไฟฟ้าของ ทุกอาคารที่ศึกษา พบว่าระบบผลิตไฟฟาโซล่าเซลล์สามารถลดการใช้พลังงานร้อยละ 14.96% ในปีแรก และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในปีต่อๆไป แสดงให้เห็นว่าการลงทุนในระบบผลิตไฟฟ้าบนหลังคาของ 5 อาคาร ที่คัดเลือกในพื้นที่เขื่อนภูมิพล มีความคุ้มค่าการลงทุน มูลค่าปัจจุบันสุทธิและผลตอบแทนภายในมีค่า เชิงบวก และระยะเวลาคืนทุนสั้น ทำให้การติดตั้งระบบผลิตไฟฟาพลังงานโซล่าเซลล์เป็นทางเลือกในการ ช่วยค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่น่าสนใจสำหรับเขื่อนภูมิพลแห่งนี้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectไฟฟ้าแสงอาทิตย์th_TH
dc.subjectไฟฟ้า--ต้นทุนการผลิต.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ระบบโซล่าเซลล์ที่อาคารในพื้นที่เขื่อนภูมิพล อำเภอสามเงา จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeThe feasibility study of solar cell system installing at building in Bhumilbol Dam, Samngao District in Tak Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this feasibility study were (1) to analyze of the solar radiation intensity, area, and technical; and (2) to assess the financial value of investment for the instilling of solar cell system at building in Bhumibol Dam, Samngao District in Tak Province. This independent study was an analytical and calculation research from documentary by using budget record during years 2013-2018 and information of solar cell system instilling record. The data analysis was the feasibility study of physical, geographical, technical, and financial aspects. The tool of this study was net present value, internal rate of return on investment, payback period, and benefit-cost ratio. The result revealed that (1) the technical potential of the solar cell power generation system on the roof of 5 selected buildings from 28 buildings at Bhumibol Dam have been screened through the screening criteria in terms of intensity of solar cell, and area. The proper instilling area and the ability to access to the solar radiation intensity result in the total technical potential of 5 buildings at 2.551.80 kWh/day. And (2) given the 7 percent discount rate, the net present value is 204,562.19 baht, the payback period is 8-9 years, the internal rate of return is 8-9%, return-to-cost ratio 1.129. When comparing electricity production from solar cells with the demand for electricity of all buildings, it was found that the solar cell power generation systems can reduce energy consumption by 14.96% in the first year and steadily increase in subsequent years. The investment in the electricity system on the roof of 5 selected buildings at Bhumibol Dam area was worthwhile for the investment, because of positive net present value and internal returns and short payback period. Thus the instilling of the solar cell power generation system could be an alternative to help reduce the energy costs for this Bhumibol Dam.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_160433.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons