Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจักรพงษ์ อินทรสงเคราะห์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T06:34:07Z-
dc.date.available2023-06-30T06:34:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6985-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความความผูกพันต่อองค์การของนักบินผู้ช่วย บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของนักบินผู้ช่วย บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และ 3) ศึกษาแนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของนักบินผู้ช่วย บริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรได้แก่ นักบินที่ปฏิบัติการบินกับเครื่องบินแบบ Boeing 777 ในตำแหน่งนักบินผู้ช่วย จำนวน 230 คน ขนาดตัวอย่างได้จากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 147 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของนักบินผู้ช่วย บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทั้งด้านความเชื่อ การยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มใจและการทุ่มเทความพยายามเพื่อเป้าหมายขององค์การ และด้านความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะดำรงรักษาไว้ซึ่งสมาชิกภาพขององค์การ 2) ปัจจัยด้านลักษณะงานและปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ 3) ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับความผูกพันต่อองค์การของนักบินผู้ช่วย บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่สำคัญ ได้แก่ ควรมีการประเมินผลการปฏิบัติงานที่โปร่งใสและเป็นธรรม ควรมีการถ่ายทอดประสบการณ์ทางการบินให้กับนักบินที่อาวุโสน้อยกว่าและเพิ่มบทบาทให้มากยิ่งขึ้น และควรลดขั้นตอนและระยะเวลาที่จะได้รับการพิจารณาให้เข้าสู่กระบวนการคัดเลือกในการเลื่อนตำแหน่งไปสู่การเป็นนักบินผู้บังคับอากาศยานหรือกัปตันให้มีความกระชับมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของนักบินผู้ช่วย บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of Co-Pilot of Thai Airways International Public Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study: 1) organizational commitment’s level of Co-Pilot of Thai Airways International Public Company Limited; 2) factors correlated with organizational commitment of Co-Pilot of Thai Airways International Public Company Limited; and 3) problems and recommendations pertaining to organizational commitment of Co-Pilot of Thai Airways International Public Company Limited. This research was a survey research. The population was 230 pilots working for Boeing 777 aircraft and samples were 147 pilots selected from Taro Yamane’s calculation formula. The questionnaire was used as an instrument to collect data. The statistics employed to analyze data were percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient of Pearson and content analysis. The results revealed that 1) the overall level of the organizational commitment of Co-Pilot of Thai Airways International Public Company Limited were at the high level, the average level were high in all aspects of commitment namely; the faith, the target recognition, the values of the organization, the willingness and the dedicated efforts to achieve organizational goals, the strong desire to maintain an organizational membership 2) both of job characteristic and working experience factors were correlated with organizational commitment at the .01 level of statistical significant but the personal factors did not correlate with organizational commitment; 3) the major recommendations regarding the organizational commitment of Co-Pilot of Thai Airways International Public Company Limited comprised of the performance evaluation should be transparent and equitable, the knowledge transfer of aviation experience to the junior pilot as well as the role of participation should be more encouraged. Besides, the reducing of redundancy procedure and time for promoting “Co-Pilot” to be “Captain” should be considereden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140610.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons