Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6993
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ พลที, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-30T06:54:01Z | - |
dc.date.available | 2023-06-30T06:54:01Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6993 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่ สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต การทำงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ เจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 344 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโรยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 185 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเพศ อายุ สถานภาพ สำเร็จการศึกษา ระดับ อายุราชการที่ปฏิบัติงานในสำนักงานศาลปกครอง ตำแหน่งงาน รายได้ประจำต่อเดือน กลุ่มงานที่ท่านสังกัด โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนสำนักงานศาลปกครองในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ท่านสังกัดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของ เจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าด้านค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ ควร ให้หน่วยงานจัดสวัสดิการช่วยเหลือด้านการเงิน ด้านสภาพการทำงานที่มีความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ควรมีการตรวจสุขภาพประจำปี โดยเพิ่มโปรแกรมตรวจให้มากขึ้น เช่น ตรวจสุขภาพฟัน หรืออื่น ๆ เป็นต้น ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ผู้บริหารควรพิจารณาเลื่อนตำแหน่งโดยยึดหลักการมีความรู้ความสามารถ ด้านโอกาสในการใช้และพัฒนาขีดความสามารถของบุคคล ผู้บริหารควรสนับสนุนให้การศึกษาและการฝึกอบรมที่ตรงกับความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน และควรสนับสนุนให้มีการฝึกคิดและปฏิบัติอย่างเป็นระบบ ด้านการทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นผู้บริหารควรมอบนโยบายและเป้าหมายในการทำงานให้ชัดเจน ด้านสิทธิส่วนบุคคลในสถานที่ทำงาน หน่วยงานควรปลูกฝังให้เจ้าหน้าที่ในองค์กรรักกันเป็นเสมือนครอบครัวเดียวกัน ไม่แบ่งแยกด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานโดยส่วนรวม ผู้บริหารควรมีการสอบถามความคิดเห็นด้านความสมดุลของชีวิตเจ้าหน้าที่ เพื่อนำข้อมูลไปปรับปรุง/แก้ไขสภาพการทำงานให้ดีขึ้น และด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคม หน่วยงานควรปลูกฝังให้เจ้าหน้าที่เป็นผู้มีจิตอาสาพร้อมรับใช้ประชาชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | คุณภาพชีวิตการทำงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานศาลปกครองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | th_TH |
dc.title.alternative | Quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the Northeastern Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to: (1) study level of quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region; (2) compare the quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region classified by personal factors; and (3) recommend approaches to develop quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region. Population was 344 personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region. Sample size was determined by Taro Yamane’s calculation formula and derived 185 samples. Sampling was stratified random sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, one-way ANOVA, multiple comparison test by Scheffe' method. The results revealed that: (1) an overview image of level of quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region was at high level; (2) comparison of the quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region classified by personal factors, it was found that sex, age, marital status, educational background, duration of work, position, salary, workplace in the overview were not different whereas workplace showed difference in quality of working life with statistically significance at the level of .05; and (3) approaches to develop quality of working life of personnel of the Office Administrative Court in the northeastern region , it was found that fair and sufficient salary aspect, the organization should provide welfare and benefits, financial assistance. Safe work environment aspect, it was found that the organization should provide annual medical check by add up some more programs such as dental care. Equal employment opportunity aspect, it was found that the organization should employ merit system. Opportunities for advancement aspect, it was found that the organization should support education and training courses that meet the needs of personnel as well thinking training and systematic implementation. Mutual work and interaction aspect, the organization should communicate clear policy and goals. Personal right aspect, the organization should promote interpersonal relationship as if all were in the same family. Work and life balance, the organization should ask for opinions for further development. Lastly, social benefit aspect, the organization should create awareness to be ready to serve the people. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_152266.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License