Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจมาศ หาญกล้า, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T07:00:54Z-
dc.date.available2023-06-30T07:00:54Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6999en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมจริยธรรมของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (2)ศึกษาผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้เรียนของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และ (3)เปรียบเทียบการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสาหรับผู้เรียน จำแนกตามการมีและไม่มีข้อความวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมจริยธรรมของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 222 โรงเรียน จำแนกเป็นโรงเรียนที่มีข้อความวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 188 โรงเรียนและโรงเรียนที่ไม่มีข้อความวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 34 โรงเรียน สุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1)แบบบันทึกผลการศึกษาข้อความวิสัยทัศน์ของโรงเรียนและ (2)แบบบันทึกผลการดาเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสาหรับผู้เรียนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า1) โรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 222 โรงเรียน แบ่งเป็นโรงเรียนที่มีข้อความวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมจริยธรรม จำนวน 188 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 84.68 และ โรงเรียนที่ไม่มีข้อความวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมจริยธรรม จำนวน 34 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 15.32 2)ผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสาหรับผู้เรียนของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครแยกตามการมีและไม่มีข้อความวิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมจริยธรรมมีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดีมากทั้งสองกลุ่ม 3)การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้เรียนไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาจริยธรรมth_TH
dc.subjectจริยธรรมนักศึกษาth_TH
dc.subjectวิสัยทัศน์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleวิสัยทัศน์และผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สำหรับผู้เรียนของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeVision and performance results on moral and ethical development for students of school under Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were(1)to study the vision on morality and ethics of schools under Bangkok Metropolitan Administration; (2)to study performance results on moral and ethical development for students of schools under Bangkok Metropolitan Administration; and (3)to compare performance results on moral and ethical development for students of schools under Bangkok Metropolitan Administration, as classified by the state of having, or not having, vision statement on morality and ethics. The research sample consisted of 222 randomly selected schools under Bangkok Metropolitan Administration, classified into 188 schools with vision statement on morality and ethics and 34 schools without vision statement on morality and ethics. The employed research instruments were (1) a form for recording the school’s vision statement on morality and ethics; and (2) a form for recording the school’s performance results on moral and ethical development for students. Statistics employed for data analysis were the frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings were that (1)out of 222 schools in the sample, 188 schools, or 84.68 per cent, had vision statements on morality and ethics, while 34 schools, or 15.32 per cent,did not have such statements; (2) regarding the performance results on moral and ethical development for students, both the schools in the group with statements on morality and ethics and those in the group without statement on morality and ethics had performance results at the very good level; and (3) the schools in the two different groups did not differ in their performance results on moral and ethical development for students at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_135329.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons