Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7006
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจําลอง นักฟ้อนth_TH
dc.contributor.authorบุษราภรณ์ ศรีรักษา, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T07:17:42Z-
dc.date.available2023-06-30T07:17:42Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7006en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน และชุมชนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอําเภอรามัน จังหวัดยะลา (2) เปรียบเทียบบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานจําแนกตามองค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และตามขนาดโรงเรียน และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอําเภอรามัน จังหวัดยะลา จํานวน 18 แห่ง ได้มาโดยการกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตารมหลักการของเคอลิงเจอร์ (Kerlinger) โดยกําหนดจํานวนกลุ่มตัวอย่างไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 ของประชากร และใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีการปฏิบัติตามบทบาทในการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (2) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มาจากสถานภาพองค์ประกอบต่างกันมีระดับการปฏิบัติตามบทบาทในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน แต่คณะกรรมการสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกันจะมีระดับการปฏิบัติตามบทบาทดังกล่าวต่างกันทั้งในภาพรวมและแต่ละด้าน และ (3) ปัญหาที่สําคัญ ได้แก่ สถานศึกษาอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยและสถานการณ์ความไม่สงบ ก่อให้เกิดปัญหาในการ ปฏิบัติงานของคณะกรรมการส่วนข้อเสนอแนะที่สําคัญ ได้แก่ ควรมีการประชาสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้น การสร้างความเข้าใจร่วมกันและส่งเสริมการจัดกิจกรรมใชุมชนร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน--ยะลาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอรามัน จังหวัดยะลาth_TH
dc.title.alternativeroles of basic education school board members in promoting relationship between schools and community of the basic education schools in Raman District, Yala Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128719.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons