Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียรth_TH
dc.contributor.authorบูรอฮาน เจะแม็ง, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T07:34:09Z-
dc.date.available2023-06-30T07:34:09Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7014en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาในอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นในการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาดังกล่าว จำแนกตามตำแหน่ง อายุราชการ และสังกัดสถานศึกษา และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาดังกล่าวกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารในสังกัดสพฐ.จำนวน 32 คน ข้าราชการครู จำนวน 186 คน และผู้บริหารในสังกัดเทศบาล จำนวน 6 คน ข้าราชการครู จำนวน 80 คน ในอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รวมทั้งสิ้น 304 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยตารางเครซี่และมอร์แกน จากนั้นทำการสุ่มอย่างง่ายตามสัดส่วนของครูในสถานศึกษาแต่ละแห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการศึกษาปรากฏว่า (1) การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ในอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี โดยภาพรวมการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและข้าราชการครู จำแนกตามตำแหน่ง อายุราชการ และสังกัดสถานศึกษาในภาพรวมไม่พบความแตกต่าง (3) ปัญหาการบริหารงานบุคคลโดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลคือ หน่วยงานต้นสังกัดควรให้สิทธิ์สถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา--ไทย--ปัตตานี--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา.th_TH
dc.titleการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาในอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานีth_TH
dc.title.alternativePersonnel administration in primary schools in Sai Buri District, Pattani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study personnel administration in primary schools in Sai Buri district, Pattani province; (2) to compare opinions toward personnel administration in the schools as classified by position, service duration, and type of school of respondents; and (3) to study problems and suggestions for solving problems of personnel administration in the primary schools. The research sample totaling 304 school personnel consisted of 32 school administrators and 186 teachers in schools under the Office of the Basic Education Commission, and 6 school administrators and 80 teachers in municipal schools in Sai Buri district, Pattani province, obtained by proportionate random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The data collecting instrument was a questionnaire with reliability coefficient of 0.89. Data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the overall rating means for personnel administration in primary schools in Sai Buri district, Pattani province were at the high level in every aspect of practice; (2) no significant difference was found regarding comparison results of opinions toward personnel administration of school personnel as classified by position, service duration, and type of school; and (3) the overall problem of personnel administration was rated at the low level; while the suggestion concerning personnel administration was that the superior office should allow the school and the school board committee to participate more in personnel administration in the schoolen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159205.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons