Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทัยวรรณ จรุงวิภู, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสไบนาง มิตสุวรรณ, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T07:42:08Z-
dc.date.available2023-06-30T07:42:08Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7016-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบหลักการคำนวณกำไรทางบัญชีและกำไรทางภาษีอากร (2) วิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของกำไรทางบัญชีและกำไรทางภาษีอากร การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ ศึกษาจาก ตำรา มาตรฐานการบัญชี และหลักเกณฑ์วิธีการเงื่อนไขตามบทบัญญัติแห่งประมวสรัษฎากรซึ่งรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์แนวคิดหลักการต่าง ๆ แล้วเรียบเรียงเป็นเอกสารทางวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า (1) การคำนวณกำไรทางบัญชีใช้เกณฑ์คงค้างและจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ส่วนการคำนวณกำไรทางภาษีอากร เพียงแต่นำกำไรทางบัญชีมาปรับปรุงให้เป็นไปตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ วิธีการแห่งประมวลรัษฎากร ตามมาตรา 65 มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี ก็จะเป็นกำไรทางภาษีอากร (2) ความเหมือนระหว่างกำไรทางบัญชีและกำไรทางภาษีอากร คือ เกณฑ์การรับรู้รายได้ เกณฑ์การวัดรายได้จากการขาย เกณฑ์การรับรู้ค่าใช้จ่ายที่ให้ถือปฏิบัติตามหลักการจับคู่ของค่าใช้จ่ายกับรายได้ ความแตกต่างระหว่างกำไรทางบัญชีและกำไรทางภาษีอากร เป็นผลมาจาก เงื่อนไข หลักเกณฑ์ วิธีการแห่งประมวสรัษฎากร หลายประการ ที่สำคัญ คือ เงื่อนไขการรับรู้รายได้ แห่งประมวลรัษฏากรกำหนดให้เจ้าพนักงานประเมิน มีอำนาจประเมินรายได้เพิ่มขึ้นหากการรับรู้รายได้นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ วิธีการแห่งประมวลรัษฏากร และมีเงื่อนไขเกี่ยวกับค่าใช้ง่ายที่ถือเป็นค่าใช้จ่ายไม่ได้ในการคำนวณกำไรทางภาษีอากร ซึ่งมีอยู่หลายประการ ที่สำคัญ คือ ค่าใช้ง่ายที่มีสักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หาหรือการกุศล ค่าใช้ง่ายที่มีลักษณะเป็นการลงทุน เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ภาษีเงินได้นิติบุคคล และเงื่อนไขในการที่จะหักค่าใช้ง่ายได้เพิ่มขึ้นเป็น 1.5 เท่า และ 2 เท่าของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในกรณีที่รายการค่าใช้จ่ายนั้นเป็นรายการที่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษีอากรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectบัญชีth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบกำไรทางบัญชีและกำไรทางภาษีอากรth_TH
dc.title.alternativeA comparative study between accounting profit and taxable profit / Comparative study between accounting profit and taxable profitth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_112592.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons