Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7030
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราธิป ศรีราม | th_TH |
dc.contributor.author | มาลัย การินดา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-30T08:07:47Z | - |
dc.date.available | 2023-06-30T08:07:47Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7030 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการจัดตั้งและการดำเนินงานขององค์กรชุมชนที่จัดตั้งขึ้นในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง (2) ผลการจัดตั้งองค์กรชุมชนในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง (3) ปัญหาการจัดตั้งองค์กรชุมชนในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง (4) หาแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาการจัดตั้งองค์กรชุมชนในเขตเทศบาลตำบลท่ายางกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยคือ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในชุมชนย่อยเขตเทศบาลตำบลท่ายาง จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามและแบบโครงสร้างการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ ร้อยละค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินการจัดตั้งองค์กรชุมชนในเขตเทศบาลตำบลท่ายางมีลักษณะเป็นการจัดตั้งองค์กรชุมชนของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ในภาพรวมระดับมาก โดยมีลักษณะเป็นการจัดตั้งองค์กรของประชาชนและเพื่อประชาชนในระดับมากขณะที่มีลักษณะเป็นการจัดตั้งองค์กร โดยประชาชนในระดับปานกลาง และการดำเนินงานขององค์กรชุมชนที่จัดตั้งขึ้นในเขตเทศบาลตำบลท่ายางมีลักษณะเป็นการดำเนินงานของประชาชน โดย ประชาชน เพื่อประชาชน ในภาพรวมระดับปานกลาง โดยมีลักษณะเป็นการดำเนินงานของประชาชนและ โดยประชาชนในระดับปานกลาง และมีลักษณะเป็นการดำเนินงานเพื่อประชาชนในระดับมาก (2) ผลการจัดตั้งองค์กรชุมชน ประชาชนมีความเห็นว่าเป็นผลดีต่อประชาชน ในระดับมาก (3) ปัญหาการจัดตั้งองค์กรชุมชนที่พบมากที่สุด คือ ปัญหาการขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน (4) แนวทางการพัฒนาการจัดตั้งองค์กรชุมชน ในกรณีที่จะจัดตั้งองค์กรชุมชนขึ้นใหม่เทศบาลควรให้ความรู้เรื่องการจัดตั้งองค์กรชุมชนและการบริหารองค์กรชุมชนให้แก่ประชาชนและคณะกรรมการชุมชนอย่างต่อเนื่อง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.163 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | องค์กรชุมชน--ไทย--เพชรบุรี | th_TH |
dc.title | การจัดตั้งองค์กรชุมชนในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Formation of community organizations in Tha Yang Subdistrict Municipality Phetchaburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.163 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.163 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study are (1) to study formation and operation of communityorganizations in Tha Yang Subdistnct Municipality, (2) to know result of the formation and operation of community organizations in Tha Yang Subdistnct Municipality, (3) to study problems and solutions of formation of community organizations in Tha Yang Subdistnct Municipality, and (4) to study and find appropriate solution for development of formation of community organizations in Tha Yang Subdistnct Municipality. The population of this study is electorate who is a member of subcommunity in Tha Yang Subdistnct Sample size, 400 people, was chosen by Multistage Sampling method. Questionnaire and Structure Focus Group Interview were used in the process of data gathering as a tool of this study. Analysis of the data was conducted and analysed with basic statistics: percentage, Mean, and Standard Deviation. Content Analysis also used for data analysis. The finding of this study showed (1) The formation of community organizations in Tha Yang Subdistnct Municipality by populaces for popdaces is in a high level. (2) The operation of community organizations in Tha Yang Subdistnct Municipality by populaces for populaces is in a middle level. (3) The result of formation of community organizations in municipal administrative division is in a high level. (4) Major problem in formation and operation of community organizations are populaces have less co-operation in formation. (5) Development direction for formation of community organization is the Municipality should educate populaces and community committee about formation and management of community organizations. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุนิสา จุ้ยม่วงศรี | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
114865.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License