Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7053
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพศาล น้ำทับทิม, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T08:58:59Z-
dc.date.available2023-06-30T08:58:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7053-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินสมรรถนะการปฏิบัติงานของกำลังพลใน กองบน 56 (2) เปรียบเทียบระดับสมรรถนะของกำลังพลในกองบิน 56 จำแนกตามลักษณะส่วน บุคคล (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคการปฏิบัติงานตามสมรรถนะของกำลังพลในกองบิน 56 (4) ศึกษาแนวทาง การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของกำลังพลในกองบนิ 56 วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ข้าราชการ ของกองบิน 56 จำนวน 186 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมดเครื่องมือการวิจัยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น โดยศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์จากองค์ประกอบสมรรถนะตามแนวคิดของ David C. McClellan วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบค่าที เพื่อวิเคราะห์ เปรียบเทียบสมรรถนะกำลังพล ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านความรู้ ทักษะ ลักษณะนิสัย แรงจูงใจ และทัศนคติ อยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบระดับสมรรถนะของกำลังพล จำแนกตาม ลักษณะส่วนบุคคล พบว่ากำลังพลที่มี อายุ ระดับเงินเดือน สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด และสังกัดแผนก แตกต่างกัน มีระดับสมรรถนะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับสมรรถนะได้แก่กำลังพลให้ข้อมูลเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบไม่ชัดเจน ขาดความชำนาญ และขาดความมุ่งมั่นทุมเทในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ (4) แนวทางการ พัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานได้แก่ ควรส่งเสริมให้กองบิน 56 เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ มีระบบ การทดสอบทักษะในสายงานต่าง ๆ และควรส่งเสริมให้กำลังพลมีวินัย มีจิตสาธารณะ และตระหนัก ถึงความสำคัญของส่วนรวมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.364en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทัพอากาศ -- ไทยth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.titleการศึกษาสมรรถนะของกำลังพลในกองบิน 56 กองทัพอากาศth_TH
dc.title.alternativeStudy of competency of the personnel in Wing 56, The Royal Thai Air Forceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to evaluate competency of personnel in Wing 56, the Royal Thai Air Force (2) to compare levels of the competency of personnel in Wing 56 classified by personal characteristics (3) to identify problems and obstacles of the operation in accordance with competency of personnel in Wing 56 (4) to study guidelines to develop operational competency of personnel in Wing 56. The research methodology was a survey research. Population in this research was 186 personnel in Wing 56 and all of them were selected as samples. The research tool was a questionnaire adapted from relevant researches and applied from David C. Mcclellan3s competency concept. Data analysis was conducted by package program and described by descriptive statistics namely percentage, mean, standard deviation and by inferential statistics namely F-Test and t-Test in order to comparatively analyze the levels of competency of the personnel. The results showed that (1) levels of operational competency in terms of knowledge, skill, trait, motivation and attitude were at high level (2) comparison between levels of competency of the personnel classified by personal characteristics found that the differences in age, salary, marital status, educational background and affiliation demonstrated the differences in levels of competency with statistical significance at 0.05 (3) problems and obstacles of competency were the personnel illuminated inexplicit information of their responsibilities, lack of expertise and determination to work with all their potentiality (4) guidelines to develop operational competency of the personnel were Wing 56 should promote the unit to be a learning organization, provide a system of skill test in various fields of work, motivate the personnel to follow disciplines, instill public consciousness and awareness of community at largeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143288.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons