Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorปราโมทย์ วงศ์รำพันธ์, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T09:01:11Z-
dc.date.available2023-06-30T09:01:11Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7054en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการนิเทศภายในของสถานศึกษาอำเภอกุดบาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 (2) เปรียบเทียบการดำเนินการนิเทศภายในของสถานศึกษาอำเภอกุดบาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 จำแนกตามขนาดของสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร 18 คน และครู 126 คน รวมทั้งสิ้น 144 คน ได้มาจาก การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่ามีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินการนิเทศภายในสถานศึกษาอำเภอกุดบาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ปานกลาง เรียงตามลาดับดังนี้การบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัด และประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมการเรียนการสอน และ (2) เปรียบเทียบการดำเนินการนิเทศภายในจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งภาพรวม และรายด้าน เมื่อเปรียบเทียบรายคู่ด้านการบริหารหลักสูตร การวัดประเมินผล และการส่งเสริมการเรียนการสอน พบว่าโรงเรียนขนาดเล็กกับโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็กกับโรงเรียนขนาดใหญ่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่นไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการนิเทศการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์.th_TH
dc.titleการดำเนินการนิเทศภายในสถานศึกษาในเขตอำเภอกุดบาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สกลนคร เขต 1th_TH
dc.title.alternativeOperation of internal supervision in schools in KutBak District under SakonNakhon Primary Education Service Area Office 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to : (1) study the operation of internal supervision in schools in KutBak District under SakonNakhon Primary Education Service Area Office 1; (2) Compare the operation of internal supervision in schools in KutBak District under SakonNakhon Primary Education Service Area Office, as classified by school. The research sample consisted of 144 school personnel classified into 18 school administrators and 126 teachers, obtained by stratified random sampling. The research instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of .92. Statistics employed for data analysis were the, mean, standard deviation, One-Way ANOVA, and Scheffé's pairwise multiple comparison method. The results showed that (1) both the overall and by-aspect conditions of the operation of internal supervision in schools in KutBak District under SakonNakhon Primary Education Service Area Office 1were rated at the moderate level; the aspectsof operation of internal supervision in schools could be ranked based on their rating means as follows: curriculum administration, instruction ,evaluation , quality assurance ,and instructional promoting ; (2) When the levels of the operation of internal supervision in schools of different sizes were compared, significant differences at the .05 level were found in both the 0verall and each aspect ; when levels of the operation of internal supervision in each aspect were compare, significant differences at the .05 level in the internal supervision in each aspect were found in schools of different sizes, while small schools were significantly different from medium sizes school and large schools in the aspects of curriculum administration, evaluation , and instructional promoting at the .05 level. The other side was not different.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_155977.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons