Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวันเพ็ญ แก้วปาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐานิดา ทิพวาที, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T02:32:08Z-
dc.date.available2022-08-18T02:32:08Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/705-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สมดุลชีวิตการทํางานของพยาบาลวิชาชีพ (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัยด้านงานกับสมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ความสามารถในการทำนายของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัวและปัจจัยด้านงาน ต่อสมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลเดช กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งมีประสบการณ์ในการพยาบาล ผู้ป่วยในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 219 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) สุขภาพ (3) การสนับสนุนจากครอบครัว (4) วัฒนธรรมการทำงาน และ (5) สมดุลชีวิตการทำงาน ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน มีค่า ความตรงตามเนื้อหาของส่วนที่ 2, 3, 4 และ 5 เท่ากับ .99, 1.00, 1.00 และ 1.00 ตามลำดับ และค่าความเที่ยง สัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบราค เท่ากับ .89, .95 , .93 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสหพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) สมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยูในระดับมาก (M =3.59, SD = .44) โดยสมดุลด้านความผูกพันทางจิตใจและสมดุลด้านความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (M =3.89, SD = .93 และ M =3.60, SD = .56 ตามลำดับ) ส่วนสมดุลด้านเวลาอยู่ในระดับปานกลาง (M =3.38, SD = .67) (2) อายุ ลักษณะงาน(เวรเช้าและเวรล่วงเวลา) วัฒนธรรมการทำงานแบบเน้นการมีส่วนร่วม ตำแหน่งงาน (ผู้บริหารการ พยาบาล) วัฒนธรรมการทำงานแบบเน้นการปรับตัว แบบเน้นพันธกิจ แบบเน้นโครงสร้างและกฎระเบียบ และ การสนับสนุนจากครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ (r = .470, .438, .367, .280, .265, .255, .164, และ .160 ตามลำดับ) ส่วนสุข ภาพ และจำนวน ชั่วโมงการทำงาน มี ความสัมพันธ์ทางลบกับสมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = -.454 และ -.408 ตามลำดับ) (3) อายุ สุขภาพ วัฒนธรรมการทำงานแบบมีส่วนร่วม การสนับสนุนจากครอบครัว และ จำนวนชั่วโมง การทำงาน สามารถร่วมกันทำนายสมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 51.8 (R2 =.518) ดังนั้น ปัจจัยทำนายเหล่านี้ควรได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพมีสมดุลชีวิตการทำงานที่ดีต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยทำนายสมดุลชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรณีศึกษาในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชth_TH
dc.title.alternativeFactors predicting work-life balance of registered nurses at the tertiary hospital : a case study at Bhumibol Adulyadej Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this predicted research were: (1) to study work-life balance of registered nurses, (2) to explore the relationships between personal factors, family factors, work factors, and work-life balance of registered nurses, and (3) to investigate the predicted power of personal factors, family factors, and work factors to work-life balance of registered nurses. The sample included 219 registered nurses had at least 1year’s experience in patient care units at Bhumibol Adulyadej Hospital. They were selected by stratified random sampling. Questionnaires were used as research tools and comprised five sections: (1) personal data, (2) health, (3) family support, (4) organizational culture, and (5) work-life balance. Questionnaires were validated by 5 experts. The content validity indexes (CVI) of the second to the fifth sections were .99, 1.00, 1.00, and 1.0, respectively and Cronbach’s alpha coefficients were .8 9 , .9 5 , .9 3 , and . 9 3, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, Pearson product moment correlation and Stepwise multiple regression analysis. The results revealed as follows: (1) Registered nurses rated their work-life balance at the high level (M= 3.59 , SD= .44) which the domains of involvement balance and satisfaction balance were at the high level (M = 3.89, SD = .93 and M = 3.60, SD = .56) but the domain of time balance was at the moderate level (M= 3.38, SD= .67). (2) There were positive relationships between age, job (the day shift and overtime), involvement culture, position (nursing administrator), adaptability culture, task culture, bureaucratic culture, family support, and work-life balance (r= .470, .438 .367, .280, .265, .255, .164, and .160 respectively, p < .05) but there were negative relationships between health, number of working hours, and work-life balance (r= -.454 and -.408, p < .05) (3) Age, health, involvement culture, family support, and number of working hours could predict work- life balance which accounted for 51.8 (R2= .5 1 8 ) of variance. The results suggested managing the predicted factors in order to enhance the work-life balance of registered nursesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 153724.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons