Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัตth_TH
dc.contributor.authorคมวุธ วิศวไพศาล, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T01:40:34Z-
dc.date.available2023-07-03T01:40:34Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7065en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ด. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทดสอบประสิทธิภาพของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) พัฒนาแนวทางการตัดสินใจเพื่อการจับจังหวะลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ด้วยการวิเคราะห์ทางเทคนิค (3) พัฒนาแนวทางการวิเคราะห์ทางเทคนิคโดยใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ และ (4) ศึกษาและเปรียบเทียบผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนได้รับจากการจับจังหวะลงทุนทั้งก่อนและหลังการ คิดค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์ การวิจัยนี้ใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่เป็นเครื่องมือในการจับจังหวะลงทุน เพื่อสร้างผลตอบแทนสูงสุด โดยใช้เกณฑ์การตัดสินใจที่กำหนดขึ้นมาทดสอบกับข้อมูลราคาปิดรายวันของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วงระยะเวลา 38 ปี ตั้งแต่วันแรกที่ทำการซื้อขาย สร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำลองการใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ตามระยะเวลาต่างๆ เพื่อกำหนดสัญญาณซื้อขาย หลักทรัพย์ เปรียบเทียบผลตอบแทนและความเสี่ยงของระหว่างเกณฑ์การใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ในทุกสภาวะตลาดกับกลยุทธ์การซื้อและถือครองในช่วงเวลาเดียวกัน การทดสอบประสิทธิภาพระดับต่ำของตลาดหลักทรัพย์ใช้วิธีวัดการเปลี่ยนแปลงของราคาด้วยสถิตินอนพาราเมตริก ผลการวิจัยพบว่า (1) การจับจังหวะลงทุนโดยใช้เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ธรรมดาที่เหมาะสมในช่วง 15 วัน ถึง 50 วัน สามารถสร้างผลตอบแทนที่สูงกว่า และมีความเสี่ยงที่ต่ำกว่ากลยุทธ์การซื้อและถือครองได้อย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากความสามารถในการลดความสูญเสียมูลค่าเงินลงทุนในสภาวะตลาดขาลง (2) ค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์จะทำให้ผลตอบแทนจากการจับจังหวะลงทุนลดลงในสัดส่วนที่สูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ๆมีระยะเวลาสั้นกว่า 10 วัน ในการจับจังหวะลงทุนทำให้ไม่สามารถสร้างผลตอบแทนเกินปกติได้ และ(3) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยขาดประสิทธิภาพในระดับต่ำ ทำให้แนวทางการจับจังหวะลงทุนดังกล่าวสามารถสร้างกำไรเกินกว่าปกติในระยะยาวได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.48en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย--การลงทุนth_TH
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจับจังหวะลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วยการวิเคราะห์ทางเทคนิคth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a market timing approach in the Stock Exchange of Thailand using technical analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.48-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.48en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาเอกth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study are; (1) to test the market efficiency of the Stock Exchange of Thailand, (2) to develop a decision-making approach for market timing via technical analysis, (3) to develop a technical analysis method using moving averages, and (4) to determine and compare the returns that investors receive before and after transaction costs were executed. The moving average was employed as a tool for market timing in order to achieve the highest possible return. Decision making rules were established and were put to test using daily closing prices of the stock market index spanning over 38 years from the first trading day. A computer program was constructed. It has been used to simulate different durations of moving averages so as to indicate buy and sell signals. Corresponding returns and risks calculated via these rules were compared with those from the buy-and-hold strategy during the same observation period. Weak-form market efficiency was tested using nonparametric statistics. The research findings were as follows: (1) The market timing using an appropriate simple moving averages between 15-50 days were able to generate higher returns and lower risks than the buy-and-hold strategy on a consistent basis. This was due to the ability to minimize losses during market downtrends. (2) Transaction costs would diminish a larger portion of returns under the market timing approach, especially when using a shorter time period of less than 10 days. (3) The Stock Exchange of Thailand was tested and results revealed that it is inefficient at the weakform. Therefore, the market timing approach developed in this study is capable of achieving abnormal returns in the long run.en_US
dc.contributor.coadvisorอภิญญา วนเศรษฐth_TH
dc.contributor.coadvisorชยงการ ภมรมาศth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143349.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons