Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
dc.contributor.authorพรทิพา โพธิ์ไพโรจน์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T02:19:57Z-
dc.date.available2023-07-03T02:19:57Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7072en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.descriptionการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความผูกพันของบุคลากรกรมอนามัยที่มีต่อองค์กร (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันกับองค์กรของบุคลากรกรมอนามัย (3) แนวทางเสริมสร้างความผูกพันกับองค์กรของบุคลากรกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขประชากรได้แก่บุคลากรกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขตั้งแต่ระดับ 7 ลงมา ทั้งส่วน กลางและส่วนภูมิภาค 1,585 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 320 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการ วิจัยได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการถดถอยพหุคูณผลการวิจัยพบว่า (1)ระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรอยู่ในระดับมาก โดยองค์-ประกอบความผูกพันที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ การทุ่มเทความสามารถในการทำงาน และองค์ประกอบความผูกพันที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ ความภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ (2) มีปัจจัย 3 ประการที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ได้แก่ ความมั่นคงและความน่าเชื่อถือขององค์การ ความท้าทายในงาน โอกาสและความก้าวหน้าในงาน ตามลำดับ (3) แนวทางสร้างเสริมความผูกพันต่อองค์กรได้แก่ 1) องค์การควรส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักในบทบาทและหน้าที่ของตนเอง เพื่อความชัดเจนในการทำงานร่วมกันของบุคลากรในองค์กร 2) ควรพิจารณาปรับปรุงค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับคุณวุฒิและความสามารถของบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความรู้สึกที่ดีต่อองค์การ 3) ควรจัดให้มีโครงการที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร และ 4) ควรมีการพัฒนาด้านการบริหารจัดการภายในองค์กรตลอดจนพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมความเจริญเติบโตและโอกาสก้าวหน้าในอาชีพองบุคลากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.161en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันกับองค์กรของบุคลากรกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting organizational commitment of personnel in Department of Health, Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.161-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.161en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) organizational commitment level of personnel in Department of Health (2) factors affecting organizational commitment of personnel in Department of Health (3) appropriate approach to strengthen organizational commitment of personnel in Department of Health, Ministry of Public Health. Population included 1,585 level 7 and lower personnel in Department of Health, Ministry of Public Health, in both central and regional offices. Samples of 320 were random applying stratification sampling method. Instrument used was questionnaire with reliability level at 0.8824. Statistical tools employed were frequency, mean, standard deviation, coefficient correlation, and multiple regression analysis. Research result revealed that (1) organizational commitment of personnel of Department of Health was in high level, commitment component with highest mean was feeling of obligation while component with lowest mean was pride of being part of organization (2) three factors found affecting organizational commitment with .05 level of significance were organization stability and credibility, challenge of assignment, and opportunity of growth and advancement, respectively (3) appropriate approach to strengthen organizational commitment included 1) the organization should encourage the awareness of roles and responsibilities among officials, so consequently their cooperation would be fostered 2) there should be an improvement in compensation to match staff competence so to increase their positive feelings to organization and 3) the organization should arrange interaction program to promote official relations; and 4) internal administration should be improved while official development programs should be provided continuously in order to promote the feelings of growth and advancement in their career.en_US
dc.contributor.coadvisorอิทธิเดช จันโททัยth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114871.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons