Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปารณี เพชรสีช่วง, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T02:30:51Z-
dc.date.available2023-07-03T02:30:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7075en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 (2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 และ (3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดพังงา จำนวน 229 คนได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .913 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับดังนี้ การวัดผลและการประเมินผล การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา (2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ผู้บริหาร ครูผู้สอน สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และชุมชน และ (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารวิชาการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 คือ ปัจจัยด้านผู้บริหาร (X1) ปัจจัยด้านครูผู้สอน (X2) และ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา (X3) เขียนเป็นสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ Z’y = 0.073 Zx1 + 0.069 Zx3 + 0.061 Zx2th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 -- การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting academic administration in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study academic administration in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14; (2) to study factors related to academic administration in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14; and (3) to study the factors affecting academic administration in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14. The research sample consisted of 229 teachers in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14 in Phang-nga province, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of .913. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The research results indicated that (1) the overall and by-aspect academic administration of basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14 were rated at the highest level; the specific aspects of academic administration could be ranked based on their rating means as follows: the measurement and evaluation; the school-based curriculum development; the learning process development; the educational supervision; and the media, innovation and educational technology development, respectively; (2) both the overall and specific factors related to academic administration in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14were rated at the high level; the specific factors could be ranked based on their rating means as follows: the administrator, the teacher, the school environment, and the community, respectively; and (3) factors affecting academic administration in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 14 were the following: the administrator (X1), the teacher (X2), and the school environment (X3); the regression equation for prediction of academic administration was as shown below: Z’y = 0.073 Zx1 + 0.069 Zx3 + 0.061 Zx2en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159563.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons