Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดา วัจนะสาริกากุลth_TH
dc.contributor.authorวัฒนา สมัครเกษตรการ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T02:40:31Z-
dc.date.available2023-07-03T02:40:31Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7077en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานต่อพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร (2) ความสัมพันธ์ระหว่างการตระหนักรู้กับทัศนติที่สมาชิกสหกรณ์การเกษตรมีต่อการใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน (3) ความสัมพันธ์ระหว่าง การตระหนักรู้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรที่มีต่อการใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานของปุ๋ยเคมีกับพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร (4) ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรที่มีต่อการใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานสำหรับปุ๋ยเคมี กับพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ประชากรในการวิจัย คือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 59,461 คน ได้กำหนดขนาดตัวอย่างจากการคำนวณสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 400 คน และแบ่งกลุ่มตัวอย่างแต่ละสหกรณ์ตามอัตราส่วนของจำนวนสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดอุทัยธานี สุ่มตัวอย่างจากสมาชิกสหกรณ์การเกษตรตามจำนวนที่ได้จากการคำนวนโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8778 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การโฆษณาสามารถสร้างการตระหนักรู้ มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร การใช้พนักงานขายสามารถสร้างความตระหนักรู้ มีผลต่อทัศนคติของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร และการส่งเสริมการขายเป็นเครื่องมือการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อทัศนคติของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร (2) การตระหนักรู้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับทัศนคติที่มีต่อเครื่องมือการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานของปุ๋ยเคมี โดยมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.650 (3) การตระหนักรู้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร โดยมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.519 (4) ทัศนคติของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรที่มีต่อเครื่องมือ การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร โดยมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.647th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.367en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปุ๋ยวิทยาศาสตร์--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectปุ๋ยวิทยาศาสตร์--ไทย--การตลาดth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดth_TH
dc.titleประสิทธิผลของเครื่องมือการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานต่อพฤติกรรมการซื้อปุ๋ยเคมีของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of integrated marketing Communication tools on Fertilizer Purchasing Behavior of Members of Cooperatives in Uthaithani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555This research aimed at studying (1) the integrated marketing communication tools on chemical fertilizer purchasing behavior of members of agriculture cooperatives (2) the relation between the awareness and attitude of members of agriculture cooperatives toward integrated marketing communication tools (3) the relation between the awareness of members of agriculture cooperatives in integrated marketing communication tools toward chemical fertilizer purchasing behavior of members of agriculture cooperatives (4) the relation between the attitude of members of agriculture cooperatives in integrated marketing communication tools toward chemical fertilizer purchasing behavior of members of agriculture cooperatives. The research population was a member of agriculture cooperatives in Uthaithani Province for 59,461 people. The samples consisted of 400 people calculating by Taro Yamane and classified a sample group of members of cooperatives by using dimple random sampling. A questionnaire was used as a tool to collect data with the confidence value at 0.8778. The statistics used to analyze data on the percentages, means, standard deviation (S.D), and correlation coefficient. The results revealed that: (1) advertising affected awareness to chemical fertilizer purchasing behavior of members of agriculture cooperatives also salesman could create awareness toward the attitudes of members of agriculture cooperatives and sales promotion was a tools in marketing communication that affected the attitudes of members of agriculture cooperatives (2) awareness of members of agriculture cooperatives had the same direction with the attitudes toward integrated marketing communications tools of chemical fertilizers with the correlation value at 0.650 (3) awareness of members of cooperatives had the same direction with chemical fertilizer purchasing behavior with the correlation value at 0.519 (4) the attitude of members of agriculture cooperatives in integrated marketing communication tools had the same direction with chemical fertilizer purchasing behavior of members of agriculture cooperatives with the correlation value at 0.647.en_US
dc.contributor.coadvisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144613.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons