กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7081
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบth_TH
dc.contributor.authorรภัสสา หาญณรงค์, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T02:50:46Z-
dc.date.available2023-07-03T02:50:46Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7081en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในภาคตะวันตก (2) เปรียบเทียบการดำเนินการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในภาคตะวันตกโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลภาคตะวันตกและพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลภาคตะวันตก 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก กาญจนบุรีราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 8,877 คน ใช้ขนาดตัวอย่าจำนวน 400 คนใช้วิธีสุ่มตัวอย่าแบบแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์กราบริหารส่วนตำบลในภาคตะวันตก มีการดำเนินงานบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และทุกด้านอยู่ในระดับมากตามลำดับ คือ หลักความโปร่งใส หลักนิติธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักการบริหารจัดการ หลักความคุ้มค่าหลักความรับผิดชอบ หลักองค์กรแห่งการเรียนรู้ หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หลักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักคุณธรรม (2) ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในภาคตะวันตกที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและอายุรับราชการต่างกันมีความคิดเห็นต่อการดำเนินการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.346en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหารth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย (ภาคตะวันตก)th_TH
dc.titleการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในภาคตะวันตกth_TH
dc.title.alternativeGood govermance implementation of Sub-district administrative organizations in Western Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.346-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.346en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) study the implementation of good governance of sub-district administrative organizations in Western Region;(2) compare the implementation of good governance of sub-district administrative organizations in Western Region classified by personal factors. Population comprised 8,877 executives and staff of sub-district administrative organizations of Western Region which included 5 provinces: Tak, Kanchanaburi, Ratchburi, Petchburi and Prachuap Khiri Khan Provinces, from which 400 samples were obtained via Taro Yamane calculation. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentages, mean, standard deviation, t-test, and F-test. The results from the research revealed that: (1) in the overall view, the implementation of good governance of sub-district administrative organizations in Western Region was at high level, with high level in all aspects which were transparency, rule of law, participation, management, value for money, accountability,learning organization, human resource development, information technology and communication and morality principles; (2) no differences were found among opinions of those with different personal factors.en_US
dc.contributor.coadvisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
144625.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.05 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons