Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7093
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | พิสิษฐ์ พลอินทร์, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T03:51:31Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T03:51:31Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7093 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง (2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับสมรรถนะของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง และ (4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานประกันสังคม ในโรงพยาบาลกลาง จำนวน 876 คน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร ในโรงพยาบาลกลาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านจริยธรรม ด้านการร่วมแรงร่วมใจ และด้านคุณภาพบริการ (2) ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่าบุคลากรที่มีอายุมากมีสมรรถนะด้านจริยธรรมสูงกว่าบุคลากรที่มีอายุน้อย และบุคลากรที่มีการศึกษาสูงมีสมรรถนะด้านการบริการที่ดีสูงกว่าบุคลากรที่มีการศึกษาตํ่า (3) ปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับสมรรถนะของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง ที่สำคัญ คือ บุคลากรขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ขาดความรู้ความเข้าใจในการให้บริการที่ดี และขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพในการทำงาน (4) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะที่สำคัญ คือ ควรมีกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพัธ์ระหว่างบุคลากรในโรงพยาบาลและควรส่งเสริมความก้าวหน้าในอาชีพ ควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการให้บริการเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ควรส่งเสริมให้บุคลากรมีโอกาสพัฒนาศักยภาพในการทำงานโดยการจัดให้มีการศึกษาดูงานในองค์การที่ประสบความสำเร็จ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | สมรรถนะ--การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคคลากรในโรงพยาบาลกลาง | th_TH |
dc.title.alternative | Personnel competency assessment in General Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: (1) assess the core competency of personnel in General Hospital; (2) compare the competency of personnel in General Hospital base on personal factors; (3) examine problems relating to core competency of personnel in General Hospital; and (4) study guidelines for developing competency of personnel in General Hospital. The samples used in this study were government officials, permanent employees, casual employees and social security officers totally 876 samples derived from Taro Yamane Formula. Random sampling used proportion method. The results revealed that: (1) core competency level of General Hospital in an overall image appeared at “High Level” in which sorting competency aspects from high to low levels were as follows: ethics, concurrence and service quality respectively; (2) comparison of core competency based on personal factors, it was found that senior personnel had higher level of ethics than junior personnel. Personnel with higher education had higher level of service quality competency than lower education ones; (3) problems of core competency of personnel in General Hospital were found as follows: personnel were lack of motivation for work achievement; lack of cognition in providing good services and lack of opportunities in potential development respectively; and (4) guidelines for competency development were there should be activities to strengthen the relation among the personnel; a support in career path and growth opportunities; a continuously support to develop the skill of providing good services; to support the personnel to develop potentialities as well as to provide visits successful organizations. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จีระ ประทีป | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
145431.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License