Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7097
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประพาพร แก่นจันทร์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T04:10:56Z-
dc.date.available2023-07-03T04:10:56Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7097-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ มูลฝอย ของประชาชนในเขตเทศบาลจังหวัดปทุมธานี (2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการ ขยะ มูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลจังหวัดปทุมธานี (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางสังคม กับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลจังหวัดปทุมธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล จังหวัดปทุมธานี จำนวน 19 แห่ง รวม 509,334 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ได้มาจากการคำนวณโดยใช้สูตร ของ ทาโร่ ยามาแน่ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ไดแก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่าถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขต เทศบาลจังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ประชาชนที่มีเพศ อายุ อาชีพ ความยาวนาน ในการอาศัยอยู่ การชักชวนจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ การเป็นสมาชิกกลุ่ม ความศรัทธาในตัวผู้บริหาร และ การได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยมีความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย ของเทศบาลในจังหวัดปทุมธานี แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นการศึกษาไม่ แตกต่างกัน (3) ปัจจัยทางสังคมได้แก่ การชักชวนจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ การเป็นสมาชิกกลุ่ม ความศรัทธา ในตัวผู้บริหาร และ การได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการมี ส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลจังหวัดปทุมธานีอย่ใูนระดับปานกลาง ผลการทดสอบ ความถดถอยพหุคูณ และเปรียบเทียบปัจจัย ที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการขยะมูล ฝอยที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 พบว่า ปัจจัยด้านเพศ, อายุ, อาชีพ, ความยาวนานในการอยู่อาศัย, การเป็น สมาชิกกลุ่ม, การชักชวนจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ, ความศรัทธาในตัวผู้บริหาร, การได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนที่ต่างกันการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยใน เทศบาลจังหวัดปทุมธานี แตกต่างกัน แต่ปัจจัย ด้านการศึกษาต่างกันจะมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย ในเขตเทศบาลจังหวัดปทุมธานี ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.138en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectขยะ -- การจัดการ -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the participation of citizens in the management of solid waste of municipalities in Pathum Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study level of participation in solid waste management of people in Municipality area, Pathum Thani province (2) 21compare factors affecting participation in solid waste management in Municipality area, Pathum Thani province (3) study the relationship between social factors and people participation in solid waste management in the Municipality area, Pathum Thani province. This study was a survey research. Population consisted of citizen living in 19 Municipality areas, Pathum Thani province, totally 509,334. Samples of 400 were derived from Taro Yamane calculation method. Accidental random sampling was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, One Way Analysis of Variance and multiple regression. Research results showed that (1) people participation in solid waste management in the Municipality area, Pathum Thani province was in medium level (2) different factors in gender, age, occupation, duration of stay in the area, solicitation of public officials, group membership, faith in the executives, and information received on solid waste management, had different relations to participation of the citizen with 0.05 level of statistical significance, difference on education did not have any effect (3) social factors which were solicitation of public officials, group membership, faith in the executives, and information received on solid waste management had positive relations with participation in medium level, as for multiple regression result and the comparison of factors affecting people participation at 0.05 level of statistical significance, it was found that: factors of gender, age, occupation, duration of stay in the area, solicitation of public officials, group membership, faith in the executives, and information received on waste management, had different effect on participation in solid waste management, while difference on education did not have any effecten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145926.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons