Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนาทิพย์ ชมเชยวงศ์, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-03T06:21:14Z-
dc.date.available2023-07-03T06:21:14Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7107-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการบริหารยุทธศาสตร์ของ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2) ภาวะผู้นำของผู้บริหารของสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารกับการดำเนินการบริหารยุทธศาสตร์ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการวิจัย คือ บุคลากรของ หน่วยงานในสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และ พนักงานราชการ จำนวน 2,120 คน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 336 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารยุทธศาสตร์ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มี การดำเนินการในระดับมาก ทั้งในภาพรวมและรายด้าน โดยดำเนินการด้านการกำหนดยุทธศาสตร์ มากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการควบคุมประเมินยุทธศาสตร์ ด้านการดำเนินยุทธศาสตร์ และ ด้านการวิเคราะห์สถานการณ์ ตามลำดับ (2) ภาวะผู้นำของผู้บริหารของสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ มีอยู่ในระดับมาก ทั้งภาพรวมและรายด้าน โดยมีภาวะผู้นำด้านการสื่อสารมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการเพิ่มอำนาจผู้ปฏิบัติด้านวิสัยทัศน์ ด้านการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม และด้านการคิดแบบกลยุทธ์ ตามลำดับ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารกับการ บริหารยุทธศาสตร์ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความสัมพันธ์เชิงบวกและมีความสัมพันธ์ กันในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.47en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารกับการบริหารยุทธศาสตร์ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการth_TH
dc.title.alternativeRelationship between executives leadership with strategic management of the Office of the Permanent Secretary Ministry of Educationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) the strategic management of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education (2) the leadership of the executives of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education (3) the relationship between executives leadership with strategic management of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education. This research was a quantitative research. The population was 2,120 person including government officials, government employees and permanent workers of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education This research surveyed 336 samples drawn from the population of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education using questionnaire as an instrument. Statistical tools employed were percentage, average, standard deviation, and pearson correlation coefficients. Research results revealed that ( 1) the strategic management of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education was at high level both in overall and in each aspect. The highest mean scores was, strategic formulation, strategic evaluation and control, strategic implementation and environment analysis ( 2) the leadership of the executives of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education was at high level both in overall and in each aspect. The highest mean scores was, communication, empowerment, vision, appropriate organizational changes and strategic thinking (3) the relationship between executives leadership with strategic management of the Office of The Permanent Secretary Ministry of Education had a positive relationship at high level with statistical significance at 0.01 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146076.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons