Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7140
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดุสิต เวชกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | ปรางทิพย์ บุญกล่ำ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T08:28:57Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T08:28:57Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7140 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงานของสำนักงานเกษตร (2) ถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงานของสำนักงานเกษตร (3) จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารงานของสำนักงานเกษตร และ เสนอกลยุทธ์การพัฒนาการบริหารงานของสำนักงานการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คือ สำนักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 1 แห่ง และสำนักงานเกษตรอำเภอ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 11 แห่ง รวมสำนักงานเกษตร จำนวน 12 แห่ง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 130 คน เกษตรกร จำนวน 114,947 ราย โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 11 แห่ง ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 98 คน เกษตรกร จำนวน 399 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ โดยวิธีขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงานของสำนักงานเกษตรในพื้นที่ จังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ในระดับมากกว่า ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ.05 (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ประสิทธิภาพการบริหารงานของสำนักงานเกษตรในพื้นที่จังหวัด เพชรบูรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ .05 ได้แก่ ปัจจัยการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปัจจัยแรงจูงใจ และปัจจัยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่วนปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานของสำนักงานเกษตร ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ณ ระดับ 05 ได้แก่ ปัจจัยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และปัจจัยการให้บริการสาธารณะ (3) จุดแข็ง คือ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมี ความกระตือรือร้น จริงใจ ซื่อสัตย์ เป็นธรรมในการให้บริการและมีการติดตามการให้บริการอย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน คือ ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญในการสร้างแรงจูงใจการทำงาน ขาดความสามัคคีในหมู่คณะ โอกาสในการพัฒนาการ บริหารงาน คือ หน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการทำงานในส่วนที่เกี่ยวข้องด้วยความเต็มใจ อุปสรรคในการ บริหารงาน คือ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ กับภารกิจจำนวนมากของหน่วยงาน ขาดงบประมาณและวัสดุ อุปกรณ์ ขาดการบูรณาการการทำงานภายในหน่วยงาน นโยบายไม่ชัดเจน จากการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะในการพัฒนาการบริหารงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ สำนักงานเกษตร คือ ควรเน้นการนำการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาเป็นกรอบในการบริหารงาน รวมทั้งผู้บริหารต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน โดยการสร้างแรงจูงใจ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.152 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ประสิทธิผลองค์การ | th_TH |
dc.subject | ประสิทธิภาพ--การประเมิน | th_TH |
dc.title | ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงานของสำนักงานเกษตร จังหวัดเพชรบูรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Efficiency and effectiveness of Agricultural Extension Office in Phetchabun Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.152 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.152 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study (1) the efficiency and effectiveness of Agricultural Extension Office (2) the factors influencing the efficiency and effectiveness of Agricultural Extension Office (3) the strength, weakness, opportunity and threat implicated the efficiency and effectiveness of Agricultural Extension Office and suggest the strategy development of Agricultural Extension Office. This research was a survey research. Population composed of 1 Agricultural Extension Provincial Office and 11 Agricultural Extension District Offices in Phetchabun Province, numbers of population from both types of offices totaled 130 officers, together with 114,947 farmers. Samples consisted of 98 officers and 399 farmers . Instruments used were questionnaire and interview. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean 1 standard deviation, t-test, analysis of variance : One Way ANOVA and stepwise multiple regression . Research result revealed that (1) efficiency and effectiveness of Agricultural Extension Offices in Phetchabun Province was higher than 70% at .05 level of Significance (2) The factor had influences to the efficiency of Agricultural Extension Office in Phetchabun Province at .05 level of significance were factors of Public Sector Management Quality Award development, motivation, and Good Governance had as for the factor had influences to effectiveness of Agricultural Extension Office in Phetchabun Province at .05 level of significance were factors of Good Governance and the public service had influences on the Effectiveness of Agricultural Extension Offices in Phetchabun Province at .05 level of significance (3) strengths of the offices were enthusiasm, sincerity, honesty , and fairness of the officers in their service activities, together with the continuous following up on their services; weakness were: the unawarencss of the executives of the importance of work motivation, and lack of cohesiveness, opportunities was the willingly cooperation of the agencies involved, threat were: insufficiency of staff, task load, lack of budget, tools and equipment, lack of internal integration and unclear policy. Suggestions from the research to improve efficiency and effectiveness of Agricultural Extension Offices in Phetchabun province were: Public Sector Management Quality Award criteria should be emphasized, Good Governance principles should be included in the administration, the management should be aware of the importance of staff and show their awareness through their act in work motivation. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
114877.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License