Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสักกะ ศิริวัฒนกาญจน์, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T01:26:49Z-
dc.date.available2023-07-04T01:26:49Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7155-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่า และพันธุ์พืช มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช การศึกษาวิจัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จำนวนทั้งสิ้น 3,664 คน ใช้กลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตาราง สำเร็จรูปของทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวน 361 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้เก็บ รวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพัธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ด้านการกำหนดรายละเอียดของ ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน ด้านการัด และตรวจสอบผลการดำเนินงาน และด้านการให้รางวัล ตอบแทนอยู่ ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทั้ง 4 ด้าน อย่ใู นระดับปานกลาง (2) ปัจจัยที่มีผล ต่อการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ทั้ง 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย ภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยวัฒนธรรมองค์การ และปัจจัยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์์ อยู่ในระดับ ปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่าทั้ง 3 ปัจจัย อยู่ในระดับปานกลาง และ (3) ปัจจัยภาวะผู้นำ ของผู้บริหาร ปัจจัยวัฒนธรรมองค์การ และปัจจัยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ การดำเนินการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.177en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช -- การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืชth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting result based management of department of National Parks Wildlife and Plant Conservationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research entitled Factors Affecting Result Based Management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation aimed to (1) study the implementation of result based management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation; (2) study key success factors toward result based management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation and; (3) study the relationship between factors affecting result based management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation. This research was a survey research. Population was 3,664 government officials of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation. Sample size was 361 people calculated via Taro Yamane calculation formula and used proportionate stratified random sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation. The research results showed that; (1) an overview image of the implementation of result based management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation was at medium level. Considering each from 4 aspects, it was found that organization's strategic planning, identification of key performance indicators, performance measurement and monitoring and rewards was at medium level (2) there were 3 key factors affecting result based management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation namely leadership, organization cultures and human resources. Level of achievement was at medium level and; (3) It was found that leadership, organization cultures and human resources factors had positive relationship with result based management procedures of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147975.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons