Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์th_TH
dc.contributor.authorพระมหาชูชัย ดวงสกาวพิสุทธิ์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T03:36:00Z-
dc.date.available2023-07-04T03:36:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7203en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับ ประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ของโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานี (2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานี จำแนกตามลักษณะโรงงานอุตสาหกรรม (3) เสนอแนะแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ เจ้าของกิจการหรือผู้จัดการ โรงงานที่ประกอบกิจการประเภทโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานี เป็นจำนวนทั้งสิ้น 3,460 โรงงาน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จำนวน ทั้งสิ้น 359 โรงงาน ตามสูตรของทาโร่ยามาเน่ โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีระดับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมากทุกด้านคือด้านคุณภาพ ด้านค่าใช้จ่าย ด้านเวลา และด้านปริมาณ ตามลำดับ (2) โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานี ที่มีจำนวนพนักงานแตกต่างกันมีประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกัน ส่วนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีประเภทโรงงานอุตสาหกรรมระยะเวลาดำเนินธุรกิจ และเงินทุนจดทะเบียนแตกต่างกันมีประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์คือ การจัดทำแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงงานอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับเป้าหมายของโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.122en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงงานอุตสาหกรรม--การบริหารth_TH
dc.subjectโรงงานอุตสาหกรรม--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeHuman resource management of industrial factories in Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.122-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.122en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the efficiency level human resource management of industry in Pathum Thani Province, (2) to compare the human resource management efficiency of industry in Pathum Thani Province, categorized by the types of industry, and (3) to suggest on how to increase the efficiency of human resource management of industry s in Pathum Thani Province. The research was a survey research. The research population included proprietors or factory managers running 3,460 factories in Pathum Thani Province. The sample size was 359 factories calculated by Taro Yamane formula. The sampling method was stratified random sampling. The research tool was a questionnaire with 0.87 reliability. The statistic employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance (ANOVA) and paired comparison method. The research findings revealed that: (1) The efficiency of human resource management was found at a high level in every aspect, which were quality, expenses, time management and quantity respectively. (2) Factories in Pathum Thani which had different amount of employees were not differ in the efficiency of human resource management and expenses. However, factories which different in type, operational period and capital had human resource management efficiency difference with statistical significant at 0.05 and (3) The recommendations were to increase the strategic and operational plans concerning the human resource management according to the factories’ goals and continually support and promote the human resource management.en_US
dc.contributor.coadvisorธนชัย ยมจินดาth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149419.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons