Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลัดดาวรรณ พุดเดช, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T04:36:58Z-
dc.date.available2023-07-04T04:36:58Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7217-
dc.description.abstractการศึกษาการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) วัฒนธรรมองค์การสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลาง (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลาง (3) ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (4) เสนอแนะการสร้างวัฒนธรรมองค์การที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลาง รูปแบบการวิจัยใช้การวิจัยเชิงสํารวจ ผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาคือบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลาง 11 กอง/สำนัก/กลุ่ม จำนวน 276 คน กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษาในครั้งนี้ จำนวน 163 คน และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้หลักการวิเคราะห์ เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) วัฒนธรรมองค์การในการดำเนินงานของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทั้งในด้านรูปธรรม และนามธรรม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2)ระดับผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลางอยู่ในระดับมากกว่าร้อยละ 70 (3) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลางกับปัจจัยส่วนบุคคลด้านหน่วยงานที่ปฏิบัติงานอยู่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) แนวทางในการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์การที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลาง คือ ควรจะสร้างยุทธศาสตร์ด้านการสร้างอัตลักษณ์ของบุคลากรในสำนักงานให้มีความโดดเด่น เพื่อจะได้เป็นวัฒนธรรมองค์การที่ดีและชัดเจน ควรส่งเสริมการจัดทำแผนความกาวหน้าในอาชีพ การนำระบบสมรรถนะมาใช้ในการประเมินผลงานและการเลื่อนตำแหน่ง และผู้บริหารควรส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลาง--การบริหารth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleวัฒนธรรมองค์การกับผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานของบุคลากรสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeCorporate culture and operating achievement of personnel of Central National Office of Buddhismen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to study (1)the corporate culture of Central National Office of Buddhism, (2) the operating achievement level of the personnel of Central National Office of Buddhism, (3) the relationship between corporate culture and operating achievement of the personnel of Central National Office of Buddhism, and (4) to suggest creation of corporate culture and operating achievement of the personnel of Central National Office of Buddhism. Survey research is applied in research design emphasizing on quantitative research and qualitative research. The populations are the personnel of Central National Office of Buddhism in 11 Divisions/Bureaus/Groups with total of 276 persons. The representative samples are 163 persons using research instruments with are questionnaire with between 0.780-0.959 of reliability value, and interview form with the expert in operating achievement of National Office of Buddhism. Data were analyzed using statistics such as Frequency Distribution, Percent, Arithmetic Mean, standard deviation, T-Test, F-Test, and Correlation Coefficient Analysis. Qualitative data was analyzed using the Principle of Descriptive Analysis. The findings indicate that (1 ) the overview of corporate culture in operation of National Office of Buddhism both in concrete and abstract areas an in high level, (2) Operating achievement level of the personnel of National Office of Buddhism an in higher level than 70%, (3) Operating achievement level of the personnel of Central National Office of Buddhism and personal factors for the operating work units are different at .05 of statistical significance (4 ) reinforcement guideline of corporate culture which is related to operating achievement of the personnel of Central National Office of Buddhism includes establishment of outstanding office personnel identity creation strategy for good and clear corporate culture, promotion of career advancement plan preparation and application of capacity system in performance appraisal and promotion, and executive support on working motivationen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154745.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons