Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดา วัจนะสาริกากุลth_TH
dc.contributor.authorสมพิศ กองอังกาบ, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T06:44:21Z-
dc.date.available2023-07-04T06:44:21Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7224en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้บริการนวดแผนไทย 2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการใช้บริการนวดแผนไทย 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการใช้บริการนวดแผนไทย และ 4) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการใช้บริการ วิธีการวิจัยเป็นการวิจัย 2 ขั้นตอน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริโภคที่มาใช้บริการนวดแผนไทยที่ไม่ทราบจำนวน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีคอแครน และเก็บตัวอย่างแบบสะดวก ขั้นตอนแรก เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ใช้บริการ จำนวน 5 คน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการทำแบบสอบถาม ขั้นตอนที่สองเก็บข้อมูลด้วยการแจกแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ใช้บริการ จำนวน 400 คน หลังจากนั้นนำคำสัมภาษณ์จากขั้นตอนแรกมาวิเคราะห์เนื้อหา และแบบสอบถามจากขั้นตอนสองวิเคราะห์โดยใช้ค่าทางสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที ค่าเอฟ ไคว์แสควร์ และสหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการวิจัย พบว่า 1) พฤติกรรมการใช้บริการนวดแผนไทยส่วนใหญ่มาใช้บริการววันเสาร์เวลาที่มาใช้ 14.31-17.00 น. ครั้งละ 2 ชั่วโมง เคยใช้บริการมาแล้ว 5 ครั้งขึ้นไป ซึ่งใช้บริการมานานน้อยกว่า 6 เดือนโดยมากับเพื่อน และเสียค่าใช้จ่ายครั้งละ 300-600 บาท 2) ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า อายุมีผลต่อความถี่และระยะเวลา รายได้มีผลต่อระยะเวลาและค่าใช้จ่าย และอาชีพมีผลต่อความถี่ ระยะเวลา และค่าใช้จ่าย 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการใช้บริการ พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์มีผลต่อการใช้บริการในระดับมากที่สุด ด้านราคาด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและด้านกระบวนการ มีผลต่อการใช้บริการในระดับมาก 4) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการใช้บริการ พบว่าอายุมีความสัมพันธ์กับ ความถี่ในการใช้บริการและระยะเวลาที่ใช้บริการ รายได้มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการใช้บริการ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์ต่อความถี่ ระยะเวลาและค่าใช้จ่าย ส่วนด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพมีผลต่อระยะเวลาและค่าใช้จ่าย ด้านกระบวนการมีความสัมพันธ์กับความถี่และระยะเวลาที่ใช้บริการ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคามีความสัมพันธ์กับความถี่ในการใช้บริการ ด้านบุคลากรมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ใช้บริการ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการนวด--ไทย--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการนวดแผนไทย ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting the consumer behavior of Thai massage service in Wat Phra Chattupon Wimon Mangkhalaram Ratchaworramahawihanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study 1) the consumer behavior of Thai massage service 2) personal factors affecting the usage of Thai massage 3) the marketing mix factors affecting the consumer behavior of Thai massage service 4) to personal factors and marketing mix factors correlating with the consumer behavior. This study had a 2 steps, and population was Thai people who use Thai massage service in Wat Phra Chattupon Wimon Mangkalaram Ratchaworra mahawihan with unknown number. Cochran convenience sampling was used. First step was in-depth interview with 5 customers and used content analysis for questionnaire development. Second step, data collection was collected from 400 customers of Thai massage service. The research instruments was questionnaire from first step. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, chisquare and spearman correlation. The results of the research were as follows: 1) most of the customers visited on Saturday around 14.31-17.00 p.m. spent time 2 hours, used the services more than 5 times within 6 months, visited with friends and spent around 300-600 baht 2) personal factors; ages affecting the frequency and time, income affecting the time and expenses, occupation affecting the frequency, time and expense 3) The marketing mix factors affecting on Thai massage found that product was at highest level. price, place, promotion, people, physical evidence and process were at high level. 4) Personal factors correlating with the consumer behavior found that age correlated with frequency and times. Income correlated with time and expense. Marketing mix factors correlate with the consumer behavior found that place and promotion correlated with frequency, time and expense. Physical evidence correlated with time and expense. Process correlated with time. Product and Price correlated with frequency. People also correlated with time with 0.05 statistical significance.en_US
dc.contributor.coadvisorอโณทัย งามวิชัยดิจth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150605.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons