Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิราพรรณ คูณจินดา, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T07:07:54Z-
dc.date.available2023-07-04T07:07:54Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7226-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะของ เทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะของเทศบาล ในเขตจังหวัดอุดรธานี (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี จำแนกตามประเภทของเทศบาล และ (4) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการสาธารณะ ของเทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี รูปแบบการวิจัยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือ เทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี จำนวน 71 แห่ง โดยมีพนักงานเทศบาล จำนวน 1,618 คน กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา คือ เทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี จำนวน 60 แห่ง โดยมีพนักงานเทศบาลเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 321 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาโดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การ ใช้วิธีการจัดหมวดหมู่ตามเนื้อหา การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี มีไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 70 (2) ปัจจัยด้านกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ปัจจัยด้านการบริหารมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ปัจจัยด้านสมรรถนะ ปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหาร และปัจจัยด้านภาวะผู้นำมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ของการให้บริการสาธารณะของเทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี (3) ผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะของ เทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี จำแนกตามประเภทของเทศบาลประเภทสามัญ และเทศบาลประเภทพิเศษ มีความ แตกต่างกัน (4) จุดแข็งในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานี อันดับแรกคือ หน่วยงานมี บุคลากรที่เพียงพอในการให้บริการสาธารณะ แนวทางการพัฒนาจุดแข็งอันดับแรกคือ จูงใจให้เจ้าหน้าที่ใช้ ความสามารถที่มีอยู่ สร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่อย่างสม่ำเสมอ จุดอ่อนอันดับแรกคือ งบประมาณมีไม่เพียงพอในการดำเนินการให้บริการสาธารณะ แนวทางการแก้ไขจุดอ่อนอันดับแรกคือ ลดภาระ ค่าใช้จ่ายประจำ เพื่อนำงบประมาณมาพัฒนาท้องถิ่น โอกาสอันดับแรก คือ มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการดำเนินการให้บริการสาธารณะ อุปสรรคอันดับแรก คือ พื้นที่รับผิดชอบกว้างขวาง ทำให้การ บริการสาธารณะไม่ทั่วถึง แนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคอันดับแรกคือ จัดลำดับความสำคัญในการให้บริการ สาธารณะในแต่ละพื้นที่ และพัฒนาต่อไปตามลำดับความสำคัญอย่างทั่วถึงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.266en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการของเทศบาลth_TH
dc.subjectบริการสาธารณะท้องถิ่นth_TH
dc.titleผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลในเขตจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeAchievement in the provision of public services of municipalities in Udonthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study level of achievement in the provision of public services; (2) study factors influencing achievement in the provision of public services; (3) compare achievement in the provision of public services; and (4) recommend approaches to improve and develop public services of municipalities in Udonthani Province. Population was 1,618 personnel working for the municipalities in Udonthani Province totally 71 municipalities of which 60 municipalities were randomly selected to be samples according to the formula of Taro Yamane. Consequently 321 personnel were samples by stratified random sampling accidental sampling method. Research instruments was a questionnaire. Statistical analysis were descriptive statistics such as; frequency, percentage, mean, standard deviation and referential statistics such as; one sample t-Test, independent sample t-Test and multiple regression. For content analysis regarding problems and recommendation employed classification the category of content and describe by frequency, percentage and order ranking of finding. The results revealed that: (1) level of the percentage of achievement in the provision of public services was higher than 70; (2) factors relating to attitudes, culture and value, result based management, competency, administrative resources and leadership influenced achievement in the provision of public services; (3) achievement in the provision of public services classified by size of municipalities were different at statistical significance level at 0.05; and (4) Problems and recommendations which were analyzed by using SWOT technique, it was found that strength of public service of municipalities in Udonthani Province was sufficient manpower to serve the people and recommendation was motivation driving the personnel to work with their existing capacity and potential regularly and continuously. Weakness was an insufficient budget allocation to implement job and recommendation was economizing unnecessary routine expenses to add up to public service work. Opportunity was giving chances of people participation to implement public work. Threat was the responsible area was very vast so that the services were hard to access thoroughly and recommendation was prioritizing the services in each area and implementing under the prioritiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151082.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons