Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัยth_TH
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย บริหาร, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T07:10:17Z-
dc.date.available2023-07-04T07:10:17Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7227en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ทักษะการประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) วิธีการพัฒนาทักษะการประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิผล (3) ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการพัฒนาทักษะกับทักษะ การประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (4) สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาทักษะการประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 225 คน โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 140 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและเอฟ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธีการของเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ทักษะการประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) วิธีการพัฒนาที่สามารถใช้ในการพัฒนาทักษะการประชุมทางไกล เพื่อให้สามารถใช้ในการประชุมได้ดีคือ การฝึกอบรม และการพัฒนารายบุคคล อยู่ในระดับมากที่สุด และการพัฒนาโดยการศึกษาอยู่ในระดับมาก (3) วิธีการพัฒนาทักษะโดยการพัฒนาเป็นรายบุคคล วิธีการศึกษา และวิธีการพัฒนาทักษะโดยการฝึกอบรม มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับทักษะการประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (4) สภาพปัญหาของการพัฒนาทักษะการประชุมทางไกล ได้แก่ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านการประชุมทางไกลมีไม่เพียงพอ บุคลากรที่รับผิดชอบมีการโอนย้ายบ่อยทำให้การทำงานไม่ต่อเนื่อง และแนวทางการพัฒนาทักษะ คือการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบการประชุมทางไกลอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การเชื่อมต่ออุปกรณ์และมีอุปกรณ์ที่พร้อมสำหรับการปฏิบัติ โดยใช้อุปกรณ์จริงควบคู่กับการสอนของวิทยากร และอบรมพัฒนาทักษะการดูแลบำรุงรักษาอุปกรณ์การประชุมทางไกลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.subjectการประชุมทางไกลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาทักษะการประชุมทางไกลของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of video teleconference skills for personnel Office of the Basic Education Commission Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) video conference skills for personnel Office of the Basic Education Commission (2) ways to develop video conference skills for personnel the Office of the Basic Education Commission (3) the relationship between ways to develop and video conference skills for personnel of the Office of the Basic Education Commission (4) problems and development approaches for video conference skills for personnel of the Office of the Basic Education Commission. The population of this study consisted of 225 personnel of the primary and secondary educational service area, from which 140 samples were obtained. Sampling method used random stratified sampling method. Research instruments were a questionnaire and an interview form. Statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test by one-way analysis (ANOVA), Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and multiple comparison test by Scheffe’s method. The results revealed that: (1) video conference skills for personnel of the Office of the Basic Education Commission were at high level. (2) ways to develop video conference skills to be able to efficiently run the good meetings were the training and individual development which were at the highest level and the development by education was at high level The individual development and by education and by training had positive relationship at low level with video conference skills for personnel of the Office of the Basic Education Commission (4) problems of video conference skills development were that skilled personnel regarding video conference personnel was not sufficient, responsible personnel were frequently transferred that caused work discontinuously. Skill development approaches were there should train skilled personnel continuously in terms of organize workshop on the linking video conferencing equipments and the maintenance.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154900.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons