Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรษิกา ชาญณรงค์.-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-04T07:30:33Z-
dc.date.available2023-07-04T07:30:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7229-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์การพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาฯ (2) ศึกษา ปัญหาการพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาฯ (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาฯ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยประกอบด้วย กลุ่มผู้บริหาร สภาที่ปรึกษาฯ จำนวน 3 คน กลุ่มผู้บริหารของสำนักงานสภาที่ปรึกษาฯ กลุ่มผู้บริหารสนับสนุนปฏิบัติงาน ของสภาที่ปรึกษาฯ จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ ศึกษาจากเอกสาร และสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาฯ ด้านโครงสร้างการบริหาร แบ่งการทำงานเป็นคณะทำงาน มีสำนักงานฯ สนับสนุนการทำงาน ด้านอำนาจหน้าที่ ทำหน้าที่ ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม ให้ความเห็นต่อแผนพัฒนาฯ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีกระบวนการดำเนินงาน การศึกษาข้อมูลจาก เอกสาร การจัดประชุมคณะทำงาน การรับฟังข้อมูลจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย จัดทำข้อเสนอแนะเสนอ คณะรัฐมนตรี ด้านกฎหมายที่สำคัญมี 3 ฉบับ คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ พ.ร.บ. สภาที่ปรึกษาฯ พ.ศ. 2543 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2547 และประกาศคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ฉบับที่ 107/2557 (2) ปัญหาการพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาฯ มีโครงสร้างการบริหาร ที่เป็นคณะทำงานย่อยมากเกินไป การทา หน้าที่การให้ข้อเสนอต่อคณะรัฐมนตรีบางเรื่องขาดความชัดเจน บางเรื่องมีความซ้ำซ้อนกับหน่วยงานของรัฐที่ทำอยู่แล้ว กระบวนการดำเนินงาน ไม่สามารถรับฟังข้อมูล จากเครือข่ายได้อย่างครอบคลุม ด้านกฎหมาย พ.ร.บ.สภาที่ปรึกษาฯ กำหนดกระบวนการสรรหาไว้ อย่างซับซ้อน (3) ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาฯ คือ ด้านโครงสร้าง ควรให้มี กลไกการทำปฏิบัติงาน เพียง 2 ระดับที่ดำเนินงานต่อเนื่องกัน คือ ให้มีคณะทำงานประจำและคณะทำงาน เฉพาะกิจ ด้านอำนาจหน้าที่ ต้องศึกษาประเด็นด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่มีความสำคัญจริงๆ ด้านกระบวนการดำเนินงาน ควรสร้างเครื่องมือในการนำเสนอความเห็นโดยการสร้างและเชื่อมโยง เครือข่ายกลุ่มต่างๆ ด้านกฎหมาย ควรปรับปรุง พ.ร.บ.สภาที่ปรึกษาฯ โดยการกำหนดกติกา การลงคะแนนเสียงใหม่ และสร้างกลไกเพื่อตรวจสอบองค์กรที่จะสมัครรวมทั้ง กำหนดคุณสมบัติ ของผู้ที่จะมาเป็นสมาชิกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.248en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ -- การบริหารth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeAdministrative development of the National Economic and Social Advisory Councilth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to; 1) analyze the Management Development for National Economic and Social Advisory Council (NESAC), 2) study the problem issue’s on Management Development National Economic and Social Advisory Council., and 3) propose recommendations for the development of the National Economic and Social Advisory Council. This study was qualitative research in which sample was composed of Executive Team, Advisory Council Group of the Advisory Council and Management Group supported work of the Advisory Council for four persons. Interview form was created and used for this study. Compiled data were collected and analyzed from document and interviews, data and content analysis. The results showed that; 1) For the Development of The National Economic and Social Advisory Council’s Management, the management institutional structure was divided into working groups, which was office support. The authority was divided for consultation and recommendation to the cabinet on economic and social issues, and giving comment to The National Economic and Social Development Plan including the legal concerned. There was also implementation process such as literature review, the working group discussion, information collecting from stakeholder focus group, interview, public hearing and then transforming the information to recommendation before submitting the recommendation to the cabinet. There are 3 declared legal issue as the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540, Act and the B.E.2543 Advisory Council amended (Vol. 2) Act B.E. 2547 and National Council for Peace and Order No. 107/2557, 2) Management Development of National Economic and Social Advisory Council’s problem issues were that structure was divided into a lot of small working groups, Some of the proposals lacked of clarification, there was some overlapping tasks occurred with state agencies that has already been done. In addition the information could not be covered all groups of NESAC network. Moreover the Methods of NESAC Member recruitment was sophisticated in legislative Act. , 3) Suggestions for the Management Development of National Economic and Social Advisory Council’s ways were that NESAC Structure should have only 2 level; routine and ad-hoc working group to operate as continuously mechanism. Functionally, it should consider the important as such as economic and social issues. The authority of advisory council should apply the principles of operation as representatives of the economic and social. The implementation process should have tools to deliver an opinion wia network linkage. Various legal issues should be revised at the Act of Council Advisor by setting the rules for initiatives ballot creation of the mechanism to monitor the organization for application as well as configured design for candidate’s qualification to become membersen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151248.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons