Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงศ์พัฒน์ ใจมั่น, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T00:33:48Z-
dc.date.available2023-07-05T00:33:48Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7244-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบธรรมาภิบาลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธ์พืช มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การดำเนินการบริหารแบบธรรมาภิบาลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบธรรมาภิบาลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบธรรมาภิบาลกับการดำเนินการบริหารแบบธรรมาภิบาล ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช จำนวนทั้งสิ้น 3,664 คนใช้กลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางสำเร็จรูป ของทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวน 361 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินการบริหารแบบธรรมาภิบาลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายหลัก การบริหารพบว่า มี 3 หลัก อยู่ในระดับมาก ได้แก่ หลักความรับผิดชอบ หลักนิติธรรม หลักเทคโนโลยีและการสื่อสาร และมี 7 หลัก อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ หลักคุณธรรม หลักการบริหารจัดการ หลักโปร่งใส หลักความคุ้มค่า หลักพัฒนาทรัพยากรมนุษย ์ หลักการมีส่วนร่วม และหลักองค์การแห่งการเรียนรู้ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบธรรมาภิบาลของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช ทั้ง 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย ภาวะผู้นำ ของผู้บริหาร และปัจจัยวัฒนธรรม องค์การ อยใู่ นระดับปานกลาง และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบธรรมาภิบาล ได้แก่ ปัจจัยภาวะผู้นำ ของ ผู้บริหาร และปัจจัยวัฒนธรรมองค์การ พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการดำเนินการบริหารแบบธรรมาภิบาล ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืชth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.uri10.14457/STOU.the.2015.80en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช -- การบริหารth_TH
dc.subjectธรรมรัฐ -- การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบธรรมาภิบาลของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืชth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting good governance management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the implementation of good governance management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation; (2) factors affecting good governance management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation and;(3) relationship between factors and good governance management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation. This research was a survey research. Population was 3,664 government officials of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation. Samples were 361 officials calculated via Taro Yamane calculation formula and used proportionate stratified random sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation. The research results showed that; (1) an overview image of the implementation of Good Governance management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation was at medium level. Considering principles of management, it was found that three principles were at high level. They were Accountability, Rule of Law, Technology and Information Communication. Seven principles were at medium level. They were Ethic, Management, Transparency, Value for money, Human Resoure Development, Participation, and Learning Organization. (2) both of factors affecting Good Governance management of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation namely leadership and organization cultures were at medium level and; (3) leadership and organization cultures factors had positive relationship with Good Governance management procedures of Department of National Parks Wildlife and Plant Conservationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151549.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons