Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7247
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ พรหมมา, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T01:29:13Z-
dc.date.available2023-07-05T01:29:13Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7247en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้แทนขายเวชภัณฑ์ในประเทศไทย (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลาออกของผู้แทนขายเวชภัณฑ์ในประเทศไทย (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับปัจจัยที่ทำให้ผู้แทนขายเวชภัณฑ์ลาออก การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยเป็นผู้แทนขายเวชภัณฑ์ในประเทศไทย จำนวน 385 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว กรณีการเปรียบเทียบเชิงซ้อนใช้วิธีการ แอล เอส ดี และเชฟฟี่เทส ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 56.9) มีอายุ 25-35 ปี และมีสถานภาพโสด สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งทำงานทั้งในบริษัทข้ามชาติและของไทยรับผิดชอบเขตการขายในต่างจังหวัด มีประสบการณ์ในการทำงาน 1-3 ปี และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,001-70,000 บาท (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลาออกของผู้แทนขายเวชภัณฑ์ในประเทศไทย คือ โอกาสก้าวหน้าในอาชีพ การบังคับบัญชาและความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา เงินเดือนและค่าตอบแทน ตามลำดบั (3) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ สถานภาพการสมรส ลักษณะของบริษัทที่สังกัด ประสบการณ์ในการทำงานเป็นผู้แทนขายเวชภัณฑ์ และรายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับการลาออกจากงานของผู้แทนขายเวชภัณฑ์ในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.208en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตัวแทนทางการค้าth_TH
dc.subjectการลาออกth_TH
dc.subjectเวชภัณฑ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลาออกของผู้แทนขายเวชภัณฑ์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting turnover of medical supplies sales representatives in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.208-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.208en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to: (1) explore personal characteristics of medical supplies sales representatives (MSRs) in Thailand; (2) study factors affecting turnover of MSRs in Thailand; and (3) examine relationship between personal characteristics and factors of turnover of MSRs in Thailand. This research was a survey research. 385 samples of Thai MSRs were collected to answer the questionnaires. For sampling process, the researcher used multistage sampling, including quota, simple random, and convenience sampling. Data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation. Hypotheses were tested by mean difference test (t-Test) and one-way analysis of variance (one-way ANOVA). Fisher’s Least Significant Difference method (LSD) and Scheffe’s Multiple Contrast method were used for post hoc analysis. The result showed that: (1) 56.9% of respondents were female, single,aged between 25-35 years old. Most respondents earned bachelor degree and worked for both multinational companies and local companies. Their territories were Bangkok, upcountry, and hybrid. Period of working was 1-3 years, and total average monthly income was 50,001-70,000 baht. (2) The factors affecting turnover of MSRs in Thailand were career advancement, and respectively followed by upervision, relationship with managers, salary and compensation. (3) The study also revealed statistically significance at 0.05 level in the relationship between personal characteristics and factors of turnover of MSRs in Thailand. Age, status, company profiles, working experiences as MSR, and monthly income had statistically significant relationship with turnover.en_US
dc.contributor.coadvisorอดิลล่า พงศ์ยี่หล้าth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152352.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons