Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7254
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี กิตติจิตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขจรเกียรติ แสงรุ้งฐิติรักษ์, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T02:11:27Z-
dc.date.available2023-07-05T02:11:27Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7254-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของผู้จัดการร้านบีสมาร์ทในการนำระบบเติมเต็มสินค้าอัตโนมัติมาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลัง (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้จัดการร้านบีสมาร์ทในการนำระบบเติมเต็มสินค้าอัตโนมัติมาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลัง จำแนกตามอายุงานในร้านบีสมาร์ท (3) ศึกษาปัญหาในการนำระบบเติมเต็มสินค้า อัตโนมัติมาใช้ไนการชัดการสินค้าคงคลังของร้านบีสมาร์ท การศึกษาเป็นการวิชัยเชิงสำรวจ ประชากร คือผู้จัดการร้านบีสมาร์ทที่ใช้ระบบเติมเต็ม สินค้าอัตโนมัติในเขตพื้นที่เมืองโฮจิมินท์ประเทศเวียดนามจำนวน94คน โดยใช้เครื่องมือที่เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคิดเห็นของผู้จัดการร้านบีสมาร์ทในการนำระบบเติมเต็มสินค้าอัตโนมัติมาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลัง มีการดำเนินการในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีการดำเนินการในระดับปานกลางทุกด้าน สูงสุดในด้านการวางแผน โดย มีการวางแผนกำหนดวัตถุประสงค์เป็นอันดับสูงสุด (2) ผู้จัดการร้านบีสมาร์ทที่มีอายุงาน 0-6 เดือน คิดว่ามีการดำเนินการนำระบบเติมเต็มสินค้าอัตโนมัติมาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลังในภาพรวม อยู่ในระดับที่สูงกว่าความคิดเห็นของผู้จัดการร้านบีสมาร์ทที่มีอายุงานมากกว่า 6 เดือน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านผู้จัดการร้านบีสมาร์ทที่มีอายุงาน 0-6 เดือน คิดว่ามีการดำเนินการด้านการปรับปรุงเป็นอันดับสูงที่สุด ในขณะที่ผู้จัดการร้านบีสมาร์ทที่มีอายุงานมากกว่า 6 เดือนคิดว่ามีการดำเนินการด้านการวางแผนเป็นอันดับสูงที่สุด (3) ปัญหาที่พบส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านการปรับปรุงที่เกี่ยวกับสินค้าขายไม่ดีสั่งซื้อมากเกินไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบีสมาร์ท--การจัดการth_TH
dc.subjectสินค้าคงคลัง--การจัดการth_TH
dc.titleการนำระบบเติมเต็มสินค้าอัตโนมัติมาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลังตามความคิดเห็นของผู้จัดการร้านบีสมาร์ทth_TH
dc.title.alternativeThe implementation of automatic stock replenishment for inventory management of B's Mart Store Manager's Opinionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the opinions of B’s Mart store managers to the implementation of automatic stock replenishment for inventory management; (2) to compare the opinions of B’s Mart store managers to the implementation of automatic stock replenishment for inventory management divided by duration of work; and (3) to study problems of the implementation of automatic stock replenishment for inventory management of B’s Mart. This study was a survey research. The population was 94 B’s Mart store managers which implemented automatic stock replenishment in Ho Chi Min city, Vietnam. The study used questionnaire as a tool. Analysis statistics were percentage, average and standard deviation. The results revealed that: (1) the opinions of B’s Mart store managers to the implementation of automatic stock replenishment for inventory management were overall and in individual aspect of operation at moderate level. The highest rank was indicated to the objective of planning. (2) The opinions of B’s Mart store managers who worked less than 6 months had higher level than B’s Mart store managers who worked more than 6 months. As individual aspect, B’s Mart store managers who worked less than 6 months indicated that the highest aspect of operation was improvement, while B’s Mart store managers who worked more than 6 months indicated that the highest aspect of operation was planning. And (3) the most problem of the implementation of automatic stock replenishment for inventory management of B’s Mart was improvement aspect which had oversupply products but were rarely sold out.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146113.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons