Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/725
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินาฏ ลีดส์ | th_TH |
dc.contributor.author | สิทธิพงษ์ ศรีเลอจันทร์, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-18T04:34:38Z | - |
dc.date.available | 2022-08-18T04:34:38Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/725 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หาหลักเกณฑ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสอบสวนผู้ต้องหาในคดีอาญาที่ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรม (2) วิเคราะห์ บทบาทและอำนาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวนในการสอบสวนผู้ต้องหาในคดีอาญาที่ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรม (3) วิเคราะห์ถึงปัญหาและอุปสรรคของพนักงานสอบสวนในการสอบสวนผู้ต้องหาในคดีอาญาที่ไม่เป็นไปตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 (7) และ (4) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาการ สอบสวนผู้ต้องหาในคดีอาญาที่ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 (7) การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยเอกสาร โดยการรวบรวมเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นตำรา บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย รวมทั้งตัวบทกฎหมาย ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ พร้อมทั้งนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ผลการวิจัยพบว่า กรณีการสอบสวนที่ไม่ถูกต้อง อาจเกิดจากปัญหาด้านกฎหมาย ได้แก่ (1) ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่คลาดเคลื่อนของพนักงานสอบสวน (2) การสอบสวนได้เองโดยลำพังของพนักงาน สอบสวนเป็นเหตุให้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุลจากองค์กรอื่น และ (3) การขาดการมีส่วนร่วมและการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของตำรวจจากภาคประชาชน กรณีการสอบสวนที่ล่าช้า อาจเกิดจากปัญหาด้านกฎหมาย ได้แก่ (1) การสอบสวนซ้าหรือการไปแจ้งความร้องทุกข์ในท้องที่ห่างไกลออกไปอย่างมาก และ (2) การสอบสวนรวบรวม พยานหลักฐานที่ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ กรณีการสอบสวนที่ไม่เป็นธรรม อาจเกิดจากปัญหาด้านกฎหมาย ได้แก่ (1) ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่คลาดเคลื่อนของพนักงานสอบสวน เช่นเดียวกับกรณีการสอบสวนที่ไม่ถูกต้อง (2) การสอบสวนซ้าหรือการเดินทางไปแจ้งความร้องทุกข์ในท้องที่ห่างไกลออกไปอย่างมาก เช่นเดียวกับกรณี การสอบสวนที่ล่าช้า และ (3) ค่าตอบแทนของพนักงานสอบสวนไม่เหมาะสมกับภาระงาน ดังนั้น เพื่อให้เกิดการสอบสวนที่ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรมตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ จึงอาจมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาด้าน กฎหมายดังกล่าวอันประกอบด้วยข้อเสนอแนะหลายประการ เช่น การแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญาเพื่อเพิ่มบทบาทของพนักงานอัยการให้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสอบสวนคดีอาญา, การกำหนดระเบียบหรือคำสั่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่วางแนวปฏิบัติให้พนักงานสอบสวนดำเนินการ สอบสวนโดยถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการกำหนดมาตรการส่งเสริมสิทธิ สวัสดิการ และ ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพราชการของพนักงานสอบสวน ทั้งนี้ เพื่อจุดมุ่งหมายให้การสอบสวนเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ อันจะทำให้การสอบสวนเป็นมาตรการทางกฎหมายที่ช่วยอำนวยความยุติธรรม ให้แก่ประชาชน และสร้างความเป็นธรรมให้แก่สังคมสืบไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.106 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสอบสวน | th_TH |
dc.title | การสอบสวนที่ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 (70) | th_TH |
dc.title.alternative | The correct, prompt, and fair inquiry under the constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007), Section 40 (7) | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2010.106 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.106 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study are to (1) determine the rules of the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007), Section 40 (7) and the laws related to the inquiring of the accused in criminal cases under the correct, prompt, and fair procedure; (2) analyze the role and duties of the inquiry officers in inquiring the accused in criminal cases under the correct, prompt, and fair procedure; (3) analyze the problems and obstacles of inquiry officers in inquiring the accused in criminal cases inconsistent with the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007), Section 40 (7); and (4) recommend the solution for the inquiring of the accused in criminal cases inconsistent with the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007), Section 40 (7) This study is a documentary research by collecting all documents pertaining to this research topic not only textbooks, academic research, and dissertation but also laws both in Thai and foreign languages. The data is to analyze in a systematic manner. The results from the study reveal the cause of incorrect inquiry procedure may be due to a sequence of legal problems, such as misunderstanding of the inquiry officers’ roles, independent inquiry procedure without examination and counterbalance from other organizations, and the lack of public cooperation in police task. Furthermore, the inquiry procedure delay may occur because of potential errors along the legal procedures, such as the repeated inquiry or making a complaint in a distance jurisdiction, and the improper evidence collection. The unfair inquiry procedure may come from some conditions, such as misunderstanding of the inquiry officers’ role, the repeated inquiry or making a complaint in a distance jurisdiction, and the inappropriate payment for the inquiry officers’ workload. In order to resolve the previously mentioned issues in the inquiry procedure and to have the correct, prompt, and fair inquiry under the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007), Section 40 (7), some of the existing legal provisions should be amended according to these following suggestions, including revising the code of criminal procedure in order to increase the role of the prosecutors in the inquiry procedure, creating police rules and regulations for inquiry officers in order to make the inquiry procedure more correct, faster, and fairer. In addition, the inquiry officer’s right, welfare, and promotion should be more transparent based on the merit system. These changes are believed to enhance the inquiry procedure to be more transparent as it is able to be examined, which consequently results in a better legal measure that affords fairness and righteousness to public as a whole | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สัญญา บัวเจริญ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib124317.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License