Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัยth_TH
dc.contributor.authorนภสรณ์ เรืองกิจวณิชกุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T06:35:31Z-
dc.date.available2023-07-05T06:35:31Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7316-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ของภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลาง (2) ศึกษาทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลาง (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะประชากรที่มีต่อทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติและมีต่อผลสัมฤทธิ์ภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลางและ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติกับผลสัมฤทธิ์ของภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลางประชากรคือพนักงานสาขาต่างๆของซุปเปอร์เซ็นเตอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือพนักงานที่ปฏิบัติงานในสโตร์ของซุปเปอร์เซ็นเตอร์ เฉพาะเขตพื้นที่กรุงเทพมาหานคร ได้แก่บริษัทแมคโคร เทสโก้ โลตัส และบิ๊กซี ซึ่งมีจำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยให้ฝ่ายบุคคลของทุกบริษัท สุ่มตัวอย่างพนักงาน เพื่อทำแบบสอบถาม มีการตรวจสอบความชัดเจนของเนื้อหาและความถูกต้องของแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลาง ของซุปเปอร์เซ็นเตอร์ในภาพรวมอยู่ในระดับดีทุกด้าน (2) ทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติ 6 ด้านในภาพรวมอยู่ในระดับดี (3) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่าง พบว่า 3.1) พบว่า ลักษณะประชากรในด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ รายได้ต่อเดือน ระดับตำแหน่งงาน จำนวนพนักงาน และองค์กรที่สังกัดแตกต่างกันมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลางไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนลักษณะประชากรในด้านประสบการณ์ทำงานในสโตร์ของซุปเปอร์เซ็นเตอร์ที่มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลางแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 3.2) ลักษณะประชากรในด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ รายได้ต่อเดือน ระดับตำแหน่งงาน และประสบการณ์ทำงานในสโตร์ของซุปเปอร์เซ็นเตอร์ แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติไม่แตกต่างกัน ส่วนลักษณะประชากรในด้านจำนวนพนักงานและองค์กรที่สังกัดแตกต่างกันมีผลต่อทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 (4) ทักษะภาวะผู้นำภาคปฏิบัติ พบว่ามีความสัมพันธ์ในเชิงบวกอยู่ในระดับปานกลางกับผลสัมฤทธิ์ภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.41en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectห้างสรรพสินค้าth_TH
dc.subjectนักบริหารth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleผลสัมฤทธิ์ภาวะผู้นำภาคปฏิบัติของผู้จัดการระดับกลางของซุปเปอร์เซ็นเตอร์เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeLeadership practices achievement of middle level managers of Super Centers in Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.41-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.41en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: 1) study die practical leadership achievement of the middle-level managers; 2) study the practical leadership skills of the middle-level managers; 3) compare the distinction in demographic characteristics toward practical leadership skills and achievement of the middle-level mangers;and 4) study the association between practical leadership skills and achievement of the middle-level managers.The demography is staff of Super Centers. The studied samples were 400 storehouse employees who worked for the urban Super Centers in Bangkok Metropolis, including Macro, Tesco Lotus, and Big c.The questionnaires were used as instrument to gather data and random employees by personnel of companies. Content validity of the questionnaire was conducted with reliability of 0.80. The statistics for data analysis included percentage (%)1 mean (X), standard deviation (S.D), t-test, F-test, and Pearson’s correlation coefficient. The results showed that: I) the practical leadership achievement of the middle-level managers at the Super Centers was at the good level in all respects; 2) The practical leadership skills were at the good level in overall 6 areas; 3) the results of distinction showed that 3.1) demographically, the differences in sex, age, educational background, marital status, monthly income, position, number of employees, and organization which they worked had insignificant influence on the practical leadership achievement of the middle-level mangers whereas work experiences had significant influence on practical leadership achievement of the middle-level mangers at .01 level; 3.2) the differences in sex, age, educational background, marital status, monthly income, position, and work experience had insignificant influence on practical leadership skills whereas number of employees and organization which they worked had significant influence on practical leadership skills at .01 level; and 4) the practical leadership skills appeared to be positively associated with practical leadership achievement of the middle-level mangers with statistically significant level.en_US
dc.contributor.coadvisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.coadvisorประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118445.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons