Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุขth_TH
dc.contributor.authorประยูร โพธิ์ไชยรัตน์, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T06:26:22Z-
dc.date.available2022-08-18T06:26:22Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/731-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิเคราะห์สาเหตุ วัตถุประสงค์ และกระบวนการเรียกร้องให้รัฐจัดตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทยของกลุ่มพระสงฆ์ รวมทั้งผลและผลกระทบทางการเมืองที่เกดขึ้นจากเหตุการณ์เรียกร้อง ตลอดจนแนวโน้มการเรียกร้องทางการเมืองของพระสงฆ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตชันเปินผลมาจากเหตุการณ์เรียกร้องในครั้งนี้ โดยทำการศึกษาวิจัยจากเอกสารทั้งชั้นต้นและชั้นรอง และด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกพระสงฆ์ผู้เป็นแกนนำและผู้เข้าร่วมชุมนุม เรียกร้องรวมทั้งอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องพระสงฆ์กับการเมือง และนักการเมืองที่เคยมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาการเรียกร้องของกลุ่มพระสงฆ์ ผลการวิจัยพบว่าสาเหตุที่ทำให้เกิดการชุมเรียกร้องกระทรวงพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทยของกลุ่มพระสงฆ์ในครั้งนี้มีหลายประการด้วยกัน คือ 1) ความต่อเนื่องของแนวคิดและความต้องการให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติโดยนิตินัย 2) ความต้องการที่จะให้สถาบันพุทธศาสนา มีความมั่นคงสถาพร 3) ความต้องให้รัฐเขามาดูแลสนับสนุนพุทธศาสนาและสถาบันสงฆ์มากขึ้น 4) ความต้องการที่จะพัฒนาและเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีประสิทธิภาพและให้กว้างขวางยิ่งขึ้น 5) การเกิดขึ้นของ "คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม" ชี่งจะเข้ามาควบคุมการดำเนินงานของพระพุทธศาสนาและองค์กรสงฆ์ 6) ความต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติคณะสงฆ์และโครงสร้างองค์กรสงฆ์7) สภาวการณ์ที่เหมาะสมของการเมืองในขณะนั้นที่รัฐกำลังดำเนินการปรับปรุงการบริหารราชการแผ่นดินและปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.269-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกระทรวงพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมth_TH
dc.subjectสงฆ์--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพระสงฆ์ กรณีศึกษาการเรียกร้องให้จัดตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม ในปี พ.ศ. 2545th_TH
dc.title.alternativePolitical participation of monks : a case study the demand to establish the Ministry of Buddhism and Thai Culture (2002)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.269-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorจุมพล หนิมพานิชth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
96544.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons