Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธันยนันท์ ธงชัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T06:59:11Z-
dc.date.available2023-07-05T06:59:11Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7324-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการรับบริการของ ศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นหน่วยงานรับเรื่องรัองเรียน/ร้องทุกข์ช่วยเหลือประสาน การแก้ไขปัญหาและอำนวยความเป็นธรรมให้กับประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการจากศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัดอุดรธานี (2) ศึกษาป้จจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการจากศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัด อุดรธานี ในด้านกระบวนการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (3) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการที่ใช้บริการผ่านช่องทางระหว่าง ช่องทางจากหน่วยงานส่วนกลางและช่องทางจากหน่วยงานที่อยู่ในจังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนที่มารับบริการที่ศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัด อุดรธานีจำนวน 21 แห่ง รวมทั้งสิ้นจำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใชัในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพทุคูณ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ 2 กลุ่ม การทดสอบแบบ t-test และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการจากศูนย์ดำรง ธรรมในจังหวัดอุดรธานี อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับ บริการจากศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัดอุดรธานี ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านเจัาหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก มีผลต่อความพึงพอใจในการให้บริการของศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัด อุดรธานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการ ที่ใช้บริการผ่านช่องทางจากส่วนกลางและช่องทางในจังหวัดอุดรธานีในภาพรวม แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 อธิบายได้ว่า ผู้ร้องเรียน/ร้องทุกข์จะติดต่อศูนย์ดำรงธรรมโดยผ่าน ช่องทางใดๆ ก็ตาม ความพึงพอใจในบริการไม่เพื่มขี้นหรือลดลงแต่อย่างใดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดอุดรธานี--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความพึงพอใจของประชาชนในการรับบริการของศูนย์ดำรงธรรมในจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativePeople's satisfaction with services of Damrongdhama Center in Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research of the study people’s satisfaction with services of Damrongdhama Center in Udon Thani Province. There arc 3-objectives in this research directed at determining level of satisfaction with services of Udon Thani Province Damrongdhama Center services: (1) to determine the level of peoples’ satisfaction, (2) to identify the factors affecting people’s satisfaction with provided services and (3) to compare the level of satisfaction of services provided by Central and Provincial Centers. The total of 155 research sample from 21 Udon Thani Province Damrongdhama Centers. Questionnaire is research instrument used for collecting data statistics used for data analysis with frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression, t-test and contents analysis. The research findings related to services of Udon Thani Province Damrongdhama Center were: (1) High level of peoples’ satisfaction; (2) Statistical differences appeared at 0.05 level with significant factors affecting peoples’ satisfaction with services being: process, service staff and facilities; (3) The 0.05 statistical level differences indicate insignificance between the levels of satisfaction of services provided by Central and Provincial Centersen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118449.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons