Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorชัชติกา แม้ประสาท, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T06:31:53Z-
dc.date.available2022-08-18T06:31:53Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/732-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพึ่อ (1) ศึกษาความรู้ทัศนคติ เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (2) ศึกษาการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ กับการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และ (4) ศึกษาปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างคือคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 205 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม 2 ขั้นตอนตามตำแหน่งและที่มาของการดำรงตำแหน่ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ที่มีค่าอำนาจจำแนกในด้านความรู้เป็นรายข้ออยู่ระหว่าง 0.2-0.X ค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม ด้านทัศนคติและการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คำสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบนเพียร’สน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ คราเมอร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น มีความรู้และ ทัศนคติเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ในระดับปานกลาง และสูงตามลำดับ (2) คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ในระดับปานกลาง (3) คุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ รายได้ เพศ และตำแหน่งในคณะกรรมการฯ มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05 ความรู้และทัศนคติ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ 0.01 และ (4) ปัญหา อุปสรรค พบว่า งบประมาณได้รับโอนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีความล่าช้า คณะกรรมการฯ ขาดความรู้ ความเข้าใจต่อแนวคิด วัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น--การบริหารth_TH
dc.subjectประกันสุขภาพth_TH
dc.subjectสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล--ไทยth_TH
dc.titleความรู้ ทัศนคติและการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการของคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ตามโครงการนำร่องของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาเขตพื้นที่ (ราชบุรี)th_TH
dc.title.alternativeKnowledge, attitude and participation in administrative process of the administration committees, Local Health Security Fund According to the Pilot Project of National Health Security Office Ratchaburi Branchth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were: (Dto identify knowledge of and attitudes towards the management of Local Health Security Funds of Local Health Security Fund committees; (2) to study the participation in management of Local Health Security Fund committees; (3) to explore the relationships between knowledge, attitudes and participation in management of Local Health Security Fund committees and (4) to identify problems and obstacles and make recommendations in the management of Local Health Security Funds. The respondents were 205 members of Local Health Security Fund committees who were selected with the method of two-stage cluster sampling with probability proportional to size according to positions and appointment procedures. The instrument used was a questionnaire which had a knowledge discrimination power between 0.2 and 0.8, and an attitude and participation reliability level of 0.89. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, chi-square test and Cramer’s contingency coefficient. Research findings showed that: (I) the knowledge of and attitudes towards the management of Local Health Security Fund committees were at a moderate level and high level, respectively; (2) the participation in the management process of Local Health Security Fund committees was at a moderate level; (3) the individual characteristics (age, income, sex and position) of committee members were significantly associated with the fund management process at a level of 0.05 and their knowledge and attitudes were also significantly associated with the fund management process at a level of 0.01; and (4) the problems and obstacles encountered included delays in the transfer of funds from the National Health Security Office and the committees’ lack of knowledge as well as understanding of the concept and objectives of the Local Health Security Funden_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108829.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons