Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคอดีย๊ะ ทิ้งน้ำรอบ, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T07:35:38Z-
dc.date.available2023-07-05T07:35:38Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7336-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียน เอกชนในจังหวัดสตูล (2) เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนเอกชนในรังหวัดสตูล จำแนกตามลักษณะของโรงเรียนและ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางในการรัดการทรัพยากรมนุษย์ของ โรงเรียนเอกชนในจังหวัดสตูล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นโรงเรียนเอกชนใน รังหวัดสตูล จำนวน 42 โรงเรียน ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากทุกโรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูล คือผู้อำนวยการโรงเรียนและครูที่รับผิดชอบด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียน รวม 84 คน และ เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมด้วยแบบสัมภาษณ์โดยสัมภาษณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 4 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า (1)การจัดการทรัพยากรมนุษย์โดยรวมของโรงเรียนเอกชนในจังหวัดสตูลอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า การจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านพนักงานและแรงงานสัมพันธ์ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่น และอยู่ในระดับมาก ได้แก่ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์การประเมินผลการปฏิบัติงาน การสรรหาทรัพยากรมนุษย์และความ ปลอดภัยและสุขภาพ ตามลำดับ (2) ลักษณะของโรงเรียนเอกชนที่มี ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ มากกว่าโรงเรียนอื่นได้แก่ โรงเรียนที่มีขนาดกลาง (จำนวนนักเรียน 301-1,000 คน) เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6เป็นโรงเรียนประเภทสามัญศึกษา (สอนสามัญ)มีจำนวนบุคลากรมากกว่า 100 คน มีอายุโรงเรียน 1-10ปี และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียน ที่สำคัญได้แก่ ด้านความปลอดภัยและสุขภาพโดยควรมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน และด้านการสรรหา โดยควรใช้วิธีการสรรหา ที่หลากหลายขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้บุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการสรรหา บุคลากรเข้ามาปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงเรียนเอกชน--การบริหารงานบุคคล--ไทย--สตูลth_TH
dc.titleการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนเอกชนในจังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeHuman resource management of private schools in Satun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of human resource management of private schools in Satun province. (2) To compare the human resource management of private schools in Satun province when was classified by school characters. (3) To investigate the problems and suggestion for human resource management of private schools in Satun province. This research was the survey research. The data were collected through questionnaires. The population consisted of 42 private schools who are 84 administrators and teachers take responsibility for human resource management. The interview was collected by 4 administrators. The instruments used in the study included questionnaires and interviews. And the statistics used in analysis data were percentage, standard deviation and content analysis. The findings showed that: (1) The overall of human resource management of private schools in Satun province was at a high level. A further look at the score of each item, the results indicated that the employees and labor relations were at the highest level as the following items; compensation and benefits. The development of human resource, planning of human resource and selection of human resource were at the high level. (2) As for the school characters: schools in medium size (301-1,000 students), school level started from kindergarten to grade 12, basic education schools, more than 100 staffs and school age 1-10 years had greater management of human resource than others. (3) According to the study, it suggested that the human resource management of private schools should emphasis on safety and health included the budget allocation enough for management. Moreover, the selection should have the various methods and staffs can participate in recruitment and selectionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146422.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons