Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฆรณี แม็คนามาร่า, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T07:42:25Z-
dc.date.available2023-07-05T07:42:25Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7337-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้ปกครองที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการพิจารณาส่งบุตรหลานเข้าศึกษาในหลักสูตรนานาชาติแห่งสหราชอาณาจักรโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยมฯ) (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการเลือกหลักสูตรนานาชาติแห่งสหราชอาณาจักรโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยมฯ) โดยจำแนกตามสถานภาพ ส่วนบุคคล (3) ศึกษาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการเลือกหลักสูตรนานาชาติแห่งสหราชอาณาจักรของผู้ปกครอง นักเรียนโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยมฯ) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาหลักสูตรนานาชาติโรงเรียน สาธิต มศว ประสานมิตร ปีการศึกษา 2013/14 จำนวน 140 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 104 คนโดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใซัในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม ใช้สถิติพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ และร้อยละ สถิติอนุมาน ได้แก่ สถิติที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านสี่งนำเสนอทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด (2) ผู้ตอบแบบสอบถาม ที่มีสถานภาพส่วนบุคคลในด้านอาชีพที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดในด้านราคาและ ด้านสถานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผู้ตอบตอบแบบสอบถามที่มีรายได้รวมเฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านราคาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านอื่นๆไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะอื่นๆที่อยู่ในความสนใจของผู้ปกครองในการเลือก หลักสูตรนานาชาติโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร ได้แก่ ด้านคุณภาพของครูและบุคลากร ด้านกระบวนการ ให้บริการสารสนเทศเพื่อเป็นแหล่งความรู้และการเผยแพร่ข่าวสารของโรงเรียน การจัดสรรสี่งอำนวยความสะดวก ต่างๆ ด้านเนื้อหาหลักสูตร ด้านการจัดสถานที่จอดรถรับส่ง ด้านการจัดแบ่งการชำระค่าเทอม การให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราค่าเล่าเรียนและกิจกรรมต่างๆอย่างถูกต้อง และด้านการส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมนอกสถานที่ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์โรงเรียนให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)--หลักสูตรth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการเลือกหลักสูตรนานาชาติแห่งสหราชอาณาจักรของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยมศึกษา)th_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors for selecting the International British Curriculum of Parent at Satit Prasarnmit Demonstration School (Secondary)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study level of parent’ opinions regarding the marketing mix factors for selecting the International British Curriculum at Satit Prasarnmit Demonstration School (Secondary); (2) to compare parent’s opinions regarding the marketing mix factors for selecting the International British Curriculum at Satit Prasarnmit Demonstration School (Secondary) by parent’s personal status; and (3) to study other parent’s suggestions for selecting the International British Curriculum. The population of this study was 140 parents whose children studied in International British Curriculum at Satit Prasarnmit Demonstration School (Secondary) for academic year 2013/2014 and 104 of them were samples calculated by Taro Yamane’s formula and randomized by accidental sampling. A survey questionnaire was used as an instrument to collect data. Data was analyzed by statistical tools including descriptive statistics which were frequency, percentage and inferential statistics which were independent-samples t-test and one-way ANOVA. The results of this study were as follows: (1) the majority of respondents were female. Their opinions toward the marketing mix factors were at high level in all factors, including people (teachers and staff), process, physical evidence, product, place, price and promotion factors; (2) respondents with different occupations had different opinions on price and place factors and those respondents who had different average monthly income had different opinions on price factor at .05 statistically significant level, however the other factors were no difference; and (3) the recommendations that were interesting by parents included the quality of teachers and staff, the information service process as a source of information and disseminating knowledge of the school, the allocation of facilities in terms of course content and curriculum, the car park, the payment of tuition fee as well as providing information on tuition rates (including extra fees of all activities) and encouraging students to participate in outdoor activities to promote the school in public places.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147232.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons