Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขวัญใจ อินสมพันธ์, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T07:55:07Z-
dc.date.available2023-07-05T07:55:07Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7342-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การออมและการวางแผนภาษีของข้าราชการสังกัด สำนักตรวจสอบพิเศษภาค 9 และภาค 10 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับการออมของข้าราชการ สังกัดสำนักตรวจสอบพิเศษภาค9 และภาค 10 (3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับการวางแผนภาษี ของข้าราชการสังกัดสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 9 และภาค 10 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการสังกัดสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 9 และภาค 10 จำนวน 150 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ และการวิเคราะห์ไค-สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้าราชการสังกัดสำนักตรวจสอบพิเศษภาค9และภาค 10ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุระหว่าง31-40ปี สถานภาพโสดมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสมาชิกที่ต้องดูแลจำนวน4 คน ขึ้นไป ตำแหน่งระดับชำนาญการ รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือน 20,001 -50,000 บาท และรายจ่ายโดยเฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000บาท 2) ข้าราชการสำนักตรวจสอบพิเศษภาค9และภาค 10มีความสามารถในการออมไม่เกินร้อยละ 5 ของรายได้ โดยข้าราชการสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 9 มีการเลือกออมโดยทำประกันชีวิต แต่ข้าราชการสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 10 เลือกออมโดยฝากเงินกับสหกรณ์ออมทรัพย์ของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 3) ในสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 9 พบว่า เพศมีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการออม ส่วนในสำนักตรวจสอบพิเศษ ภาค 10 พบว่าประเภทตำแหน่งและรายจ่ายมีความสัมพันธ์กับรูปแบบการออม เพศมีความสัมพันธ์กับ ความสามารถในการออม และสถานภาพมีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการออม 4) ในสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 9 พบว่า ประเภทตำแหน่งและรายได้มีความสัมพันธ์กับฐานภาษี รวมถึงการศึกษา รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนและ รายจ่ายโดยเฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับสิทธิลดหย่อนภาษีในสำนักตรวจสอบพิเศษภาค 10พบว่า อายุ สถานภาพ การศึกษา จำนวนสมาชิกที่อยู่ในความดูแล ประเภทตำแหน่ง รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนและรายจ่าย โดยเฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับฐานภาษี รวมถึงอายุกับประเภทตำแหน่งงานมีความสัมพันธ์กับสิทธิในการลดหย่อนภาษีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการประหยัดและการออม--ไทยth_TH
dc.subjectการวางแผนภาษีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการออมและการวางแผนภาษีของข้าราชการสังกัดสำนักตรวจสอบพิเศษ ภาค 9 และสำนักตรวจสอบพิเศษ ภาค 10th_TH
dc.title.alternativeThe savings and tax planning of government officials in regional Audit Office no.9 and regional Audit Office no.10en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were 1) to study the savings and tax planning of government officials in Regional Audit Office no.9 and Regional Audit Office no.10; 2) to study the relationship between the savings planning of government officials in Regional Audit Office no.9 and no.10 and personal factors; and 3) to study the relationship between the tax planning of government officials in Regional Audit Office no.9 and no.10. Population was 150 government official in Regional Audit Office no.9 and no.10. The data was collected by using questionnaire and was analyzed by using percentage and chi-square. The results indicated that (1) most government officials in Regional Audit Office no.9 and no.10 were single females, aged 31 and 40, Bachelor’s degree, more than 4 family members, specialist position, average revenue 20,001-50,000 Baht and average expense 20,001-30,000 Baht; (2) government officials in Regional Audit Office no.9 and no.10 were able to save money less than 5 percent out of total salaries. The government official in Regional Audit Office no.9 chose life insurance savings whereas government officials in Regional Audit Office no.10 chose deposit money in cooperatives of Office of the Auditor General of Thailand (OAG) for savings plan; (3) gender related to the reasons for savings in Regional Audit Office no.9 and position and expense related to the saving pattern, gender related to the ability of saving and marital status related to the reasons for saving; and (4) position and income related to tax base including education, average income and average expense related to tax break rights in Regional Audit Office no.9 while age, marital status, education, family members, position, average income and average expense related to tax base, and age and position related to tax break rightsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151350.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons