Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภาth_TH
dc.contributor.authorขวัญชัย หิรัญอุดมเกียรติ, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T08:01:12Z-
dc.date.available2023-07-05T08:01:12Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7344en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในชีวิตประจำวันของเจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ (2) ศึกษาการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในชีวิตประจำวันของเจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ (3)เปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันของเจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันของเจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ส่วนกลาง จำนวน 528 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณของทาโรยามาเน่ ได้ขนาดตัวอย่าง 228 คน ทำการสุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้ตอบแบบสอบถาม อยู่ในระดับมาก (2) การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านความพอประมาณ ด้านความมีเหตุผล ด้านการมีภูมิคุ้มกันที่ดี เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรมของ ผู้ตอบแบบสอบถามโดยรวมอยู่ในระดับมาก (3)การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน ชีวิตประจําวันของเจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ยกเว้นปัจจัยด้านเพศที่ไม่มีความแตกต่าง (4)ความรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยรวม มีความสัมพันธ์กัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectเกษตรกรรมแบบผสมผสานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันของเจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์th_TH
dc.title.alternativeDeployment of sufficiency economy philosophy in daily life of the Government Public Relations Department Personalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: 1) to study the level of knowledge about the philosophy of sufficiency economy in daily life of the officers in The Government Public Relations Department; 2) to study the deployment of the philosophy of sufficiency economy in daily life of officers in The Government Public Relations Department; 3) to compare the deployment of the philosophy of sufficiency economy of the officers in The Government Public Relations Department by personal factors; 4) to study the relationship between knowledge and deployment of the philosophy of sufficiency economy of the officers in The Government Public Relations Department. Population in this study was 528 officers in central administration of The Government Public Relations Department. Sample size calculated by the Yamane formula was 228. Stratified random sampling and collects the data using the questionnaires. The descriptive statistics for data analysis included frequency, percentage, mean,standard deviation, inferential statistics were t-test, One-way ANOVA and Pearson's Correlation Analysis. The study found that 1) knowledge of sufficient economy philosophy in daily life of officers in The Government Public Relations Department was at a high level. 2) deployment of the philosophy of sufficiency economy in daily life of officers in The Government Public Relations Department was at a high level. 3) deployment of the philosophy of sufficiency economy in daily life of officers in The Government Public Relations Department as classified by personal factors were statistical significant differences at 0.05. 4) total of knowledge and deployment of the philosophy of sufficiency economy of the officers in The Government Public Relations Department have relationship significant level at 0.01.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151398.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons