Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจรรยารัตน์ ขวัญแก้ว, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-05T08:07:24Z-
dc.date.available2023-07-05T08:07:24Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7347-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ ข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในเขตภาคใต้ที่มีผล ต่อปัจจัยจูงใจและปัจจัยคํ้าจุน (2)ปัจจัยจูงใจและปัจจัยคํ้าจุนที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของข้าราชการ การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการ สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในเขตภาคใต้ จำนวน 135 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุอยู่ในช่วง 30-34ปี สถานภาพโสด การศึกษาส่วนใหญ่จบปริญญาตรี ตำแหน่งระดับชำนาญการ รายได้ต่อเดือน 25,000-29,999 บาทและระยะเวลาที่ปฏิบัติงานอยู่ในช่วง 1-4 ปีปัจจัยจูงใจ และปัจจัยคํ้าจุนมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก ลักษณะประชากรศาสตร์ ในส่วนของ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน (2) ปัจจัยจูงใจไม่มี ความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ ลักษณะทางประชากรศาสตร์กับปัจจัยคํ้าจุน พบว่า เพศ กับปัจจัยคํ้าจุนด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานกับปัจจัยคํ้าจุน ด้านนโยบายและการบริหาร มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เขตภาคใต้--ข้าราชการและพนักงาน--การทำงานth_TH
dc.subjectข้าราชการ--การทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เขตภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeEfficiency performance of officials at Office of National Anti-Corruption in South Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the individual study were to investigate (1) the demographic characteristics that affect work expectations and satisfaction, (2) Factors that affect to work expectations and satisfaction of officials at Office of National Anti-Corruption in South Region. This study was a survey research. The population consisted of 97 personnel of National Anti-Corruption in South Region Office. The tool used was the questionnaire. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, and chi square. The results of the study showed that (1) The majority of the respondents were male, between 30 – 34 years old, were single, graduated with Bachelor’s degree, held the position of academic, earned average monthly income between 25,000 – 29,999 Baht, and had 1 – 4 years of work. (2) The analysis result of official’s motivation factors and maintenance factors had the high level for performance. The results of hypothesis test of expectations demonstrated that personal factors marital and position there is significant relationship for expectations at 0.05 level of significance, gender, age, education, office, income, experience and expectations no relationship. The results of hypothesis test of satisfaction demonstrated that personal factors no relationshipen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153841.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons