Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์th_TH
dc.contributor.authorผกาพรรณ ต้นสอน, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T06:39:01Z-
dc.date.available2022-08-18T06:39:01Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/734-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชน ( 2 ) ศึกษาปัจจัยส่งเสริม ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชน ( 3 ) ศึกษาเปรียบเทียบระดับการตัดสินใจเลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชนในด้านนโยบายของกลุ่มที่สังกัด ด้านคุณสมบัติของผู้สมัคร ด้านกลุ่มการเมืองท้องถิ่นที่สังกัดและด้านคุณสมบัติอื่นๆ (4) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรค การตัดสินใจเลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชน ผลการวิชัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงและมีรายได้ระหว่าง 5,001- 10,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีจำนวนมากที่สุดมีอายุระหว่าง 31-40 ปีมีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และประกอบอาชีพเกษตรกร (2) ปัจจัยส่งเสริมพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีระดับการรับรู้ข่าวสารการเลือกตั้งท้องถิ่นโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และกลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น อยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน (3) การตัดสินใจเลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชนอยู่ในระดับมีผลต่อการตัดสินใจเลือกตังมาก (4) ปัญหาและอุปสรรค ที่สำคัญ ได้แก่ คุณสมบัติของด้สมัคร มีวุฒิการศึกษาอยู่ในระดับตํ่า (5) ผลการทดสอบสมมติฐาน อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และอาชีพ มีความสัมพันธ์คับการตัดสินใจเลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ส่วนเพศ การรับรู้ข่าวสารการเลือกตั้งท้องถิ่นและความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น ไม่มีความสัมพันธ์กับการ ตัดสินใจเลือกตั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.209-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--ราชบุรี (ปากท่อ)th_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่น--ไทยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งท้องถิ่นของประชาชน : ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลปากท่อ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors that affect citizens' voting choices in local elections : a case study of the Paktho Sub-district Administrative Organization, Pak Tor District, Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.209-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study personal factors that influenced citizens* voting decisions in local elections; (2) study supplementary factors that influenced citizens’ voting decisions in local elections; (3) compare the level of citizens* voting decisions with the policies of groups to which they belonged, qualities of the candidates, local political groups to which they belonged, and other qualities; and (4) to study problems and obstacles to citizens’ voting decisions in local elections. The results showed that: (1) In terms of personal factors, the majority of the sample was female and had income of 5,001-10,000 baht a month. The largest number were aged 31^40, were educated to the level of middle school and were farmers. (2) For supplementary factors, the sample on average had a medium level of awareness of news about the local election and a medium level of knowledge about the local election. (3) Citizens’ voting local decisions affected their overall voting decisions to a high degree (4) The main problems and obstacles were the qualities of the candidates, i.e. low educational qualifications. (5) Tests of the hypotheses showed that age, educational level, monthly income, and profession were related to citizen’s voting choices in the local election to a statistically significant degree of 0.05. Sex, awareness of news about the local election and knowledge of the local election were not related to citizen’s voting choices in the local electionen_US
dc.contributor.coadvisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.coadvisorประพนธ์ เจียรกูลth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
97264.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons