Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทัยวรรณ จรุงวิภู, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนทรี ถาวร, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-06T02:26:39Z-
dc.date.available2023-07-06T02:26:39Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7370-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และอุปสรรค ที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด (ชสอ.) (2) ศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง และจุดอ่อน ในการดำเนินธุรกิจของ ขสอ. และ (3) ศึกษาแนวทางการสร้างกลยุทธ์ไนการทำธุรกิจของ ชสอ. ในอนาคต ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งรวบรวมจากหนังสือ ตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ บทความ วารสาร เอกสารต่าง ๆ โดย ชสอ. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิธีการที่ใช้ในการศึกษา คือ การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ และอัตราส่วนทางการเงิน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกที่ทำให้ ชสอ. มีโอกาส (Opportunities) ทางธุรกิจ คือ ช่องทางการระดมทุนและการลงทุน ที่เปิดกว้างมากขึ้น ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรค (Threats) ในการดำเนินธุรกิจของ ชสอ. คือ ยังไม่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงตามมาตรา 105 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ทำให้ ชสอ. เองมีอำนาจกระทำการ ไม่ต่างกับสหกรณ์สมาชิก เมื่อพิจารณาถึงปังจัยสภาพแวดล้อมภายใน พบว่า ชสอ. มีจุดแข็ง (Strengihs) ในการดำเนินธุรกิจ คือ การดำเนินธุรกิจแบบสหกรณ์มีลูกค้าที่แน่นอน คือ สหกรณ์สมาชิก และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ขณะเดียวกันพนักงานได้รับผลตอบแทนทั้งในรูปแบบของเงินเดือนและสวัสดิการที่เป็นแรงจูงใจที่ดี ส่วนจุดอ่อน (Weaknesses) คือ การมีสำนักงานเพียงแห่งเดียวอยู่ (กรุงเทพมหานคร) ทำให้ไม่สะดวกในการใช้บริการของสหกรณ์สมาชิก กรรมการมาจากการเลือกตั้งมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 2 ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการบริหารดังนั้นกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการพัฒนา ชสอ. ในอนาคต ทั้ง 3 ระดับ คือ กลยุทธ์ระดับบริษัท ชสอ.ควรขยายตัวในแนวราบในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเดิม โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ไหม่เข้าไปในตลาดเดิม กลยุทธ์ระดับธุรกิจ ชสอ. ควรเป็นผู้นำด้านต้นทุน โดยเน้นการมีต้นทุนที่ต่ำกว่าคู่แข่งขัน ส่วนกลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ การมีส่วนร่วมของสหกรณ์สมาชิกให้มากขึ้น การพัฒนาบุคลากรให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง และการดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับหลักการและอุดมการณ์สหกรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด--การวางแผนเชิงกลยุทธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการสร้างกลยุทธ์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ SWOT : กรณีศึกษาชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัดth_TH
dc.title.alternativeCreating strategy by the use of SWOT analysis : a case study of The Federation of Savings and Credit Cooperatives of Thailand Limited / Creating strategy by the use of SWOT analysis : a case study of The Federation of Savings and Credit Cooperatives of Thailand Limitedth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_83492.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons