Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ศิลปอาชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกุญชร เจือตี๋, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรีรัตน์ โพธิ์ศรี, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-06T07:22:30Z-
dc.date.available2023-07-06T07:22:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7404-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่ใช้บริการ เพื่อสุขภาพ 2) เปรียบเทียบความคาดหวัง และความพึงพอใจต่อปัจจัย ส่วนประสมการตลาดบริการ 3) ศึกษาสภาพการดำเนินการ ปัญหาและอุปสรรคของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และ 4) เสนอแนะ กลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดตราด การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ 1) นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการสปาและนวดเพื่อสุขภาพ จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และ 2) ผู้ประกอบการเพื่อสุขภาพ 6 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านบริการเพื่อสุขภาพ ของรัฐ 2 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และนำมาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เลือกใช้สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ที่สะอาด เหตุผลการใช้บริการเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อย นวดหลังไหล่และศีรษะเป็นส่วนใหญ่ เคยใช้บริการมาก่อน เดินทางมาคนเดียว ใช้จ่ายน้อยกว่า 500 บาทต่อครั้ง ใช้บริการเดือนละ 1-2 ครั้ง รู้ข่าวจากคนรู้จักนิยมใช้เดย์สปา ตกแต่งแบบธรรมชาติ ตั้งอยู่ใกล้ตัวเมือง 2) นักท่องเที่ยวมีความ พึงพอใจมากกว่าความคาดหวัง ในทุกด้านของปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการ 3) ธุรกิจเพื่อ สุขภาพ เปิดบริการเป็นจำนวนมากและมีการแข่งขันสูง ขาดแคลนนักบำบัดและหมอนวด การ ส่งเสริมการตลาดมีน้อย ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้ กฎหมายใหม่ 4) ข้อเสนอแนะกลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ดังนี้ สร้างตราสินค้าให้ โดดเด่นและจดจำง่าย ใช้ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เข้า ถึงกลุ่มเป้าหมาย ตั้งราคาให้มีหลายราคา เพิ่มการโฆษณาผ่านอินเทอร์เน็ตและใช้พนักงานแนะนำโดยตรง ออกแบบกระบวนการชัดเจนและ ตกแต่งสอดคล้องกับวัฒนธรรมไทยและดูแลความสะอาดอยู่เสมอ ส่งเสริมพนักงานให้มีจิตสำนึก ในการบริการจัดการฝึกอบรม และสร้างขวัญกำลังใจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.147en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -- ไทย -- ตราดth_TH
dc.titleการพัฒนากลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดตราดประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeStrategy development of health tourism promotion in Trat Province, Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to study the behavior of health tourists; 2) to compare tourists’ expectation and satisfaction on service marketing mix; 3) to explore the situation, problem and drawback of health tourism; and 4) to recommend the strategies for health tourism promotion in Trat province. This study was quantitative and qualitative research. The samples were 1) 400 tourists used Spa and health massage in Trat province which were random by systematic sampling method. A questionnaire was used for data collection and was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and t-Test; and 2) 6 health entrepreneurs including 2 health service professionals from government sector were in-depth interviewed and data was analyzed by SWOT analysis. The results showed that 1) most tourists selected clean health establishments for reduce muscle ache focusing on back, shoulder and head massage. Most of them have massage experience and travel alone. They received the information by word of mouth. They liked to use day spa and used 1-2 times per month and spent less than 500 Baht each time. They preferred the places with natural style decoration near downtown. 2) Tourists had satisfaction more than expectation for all service marketing mix factors. 3) There were many health establishments with very high competitive situation led to the shortage of therapists and massagers. Moreover, the marketing promotion was limited including the lack of cooperation among involved government departments to enforce the new law. 4) The recommendations for health tourism promotion strategies in Trat province were to create a remarkable brand which easy to remember; to use e-commerce to approach target groups; to set up various price levels; to increase advertisement on internet and also use frontline staffs; to design a noticeable process and decorate the places harmonized with Thai culture and always kept them clean; to encourage the awareness of staff’s service mind; and to provide training and moraleen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155145.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons