Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/740
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorชาลี ยะวร, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T07:22:18Z-
dc.date.available2022-08-18T07:22:18Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/740-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยประเมินผลโดยประยุกต์ใช้รูปแบบซิปป์ของสตัฟเฟิลบีม มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลโครงการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เพื่อยกระดับเป็น อสม. เชี่ยวชาญ สาขาเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดมหาสารคาม ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านบริบทด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการดำเนินงานด้านผลผลิต และ (2) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนา อสม. เชี่ยวชาญ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ อสม. ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนา อสม. เชี่ยวชาญ จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 322 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากรายงานสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด ผลการวิจัยพบว่า (1) การประเมินผลด้านบริบทอยู่ในระดับสูงด้านปัจจัยนำเข้าอยู่ในระดับปานกลางด้านกระบวนการอยู่ในระดับสูง ด้านผลผลิตในด้านความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อยู่ในระดับสูง ความรู้เรื่องการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงอยู่ระดับปานกลางการปฏิบัติงานการคัดกรองและการดูแลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอยู่ในระดับสูงความครอบคลุมการคัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 97 ซึ่งสูงกว่าปีที่ไม่มีการพัฒนาและสูงกว่าเป้าหมายอัตราป่วยรายใหม่โรคเบาหวานยังไม่ผ่านเกณฑ์ โรคความดันโลหิตสูงถือว่าผ่านเกณฑ์ และ (2) ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการที่สำคัญ คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ได้แก่ ความไม่เพียงพอ ด้านงบประมาณสนับสนุนในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจำนวนสื่อประชาสัมพันธ์ และวัสดุอุปกรณ์ในการรณรงค์ รวมทั้งปัญหา ด้านกระบวนการ ได้แก่ จำนวน อสม. ได้ปฏิบัติงานตรวจคัดกรองโรค และระยะเวลาการจัดอบรม (2 วัน) น้อยเกินไปข้อเสนอแนะคือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ควรสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานหน่วยงานสาธารณสุขควรเพิ่มการสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ และอุปกรณ์ในการรณรงค์ใหเพียงพอ รวมทั้งควรจัดอบรมเพื่อเพิ่มจำนวน อสม. เชี่ยวชาญให้เพียงพอ และเพิ่มระยะเวลาการอบรมเป็น 3-5 วันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุข--การประเมินth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุข--ไทย--มหาสารคามth_TH
dc.titleการประเมินผลการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญสาขาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of program for developing Village Health Volunteer experts in the diabetes mellitus and hypertension aspects in Maha Sarakham Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this evaluation research, by applying the Stufflebeam's CIPP Model were to (1) evaluate the program for developing Village Health Volunteers (VHVs) to VHV specialist in diabetes and hypertension aspects in Maha Sarakham province, consisting of 4 aspects: context, input, process, product; and (2) identify problems, obstacles and suggestions for developing VHV experts. The study sample was 322 VHVs who participated in the training program of VHV specialist in Maha Sarakham Province, recruited by simple random sampling technique.Primary data were collected by questionnaires, and secondary data were collected from reports. Statistics used for data analyses included percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum values. The results revealed as follows: (1) The evaluation of context aspect was at a high level, the input was at a moderate level, the process was at a high level, the output aspect regarding knowledge of diabetes and hypertension was at a high level, but knowledge of screening diabetes and hypertension was at a moderate level. The performance of screening and taking care of diabetes and hypertension was at a high level.The coverage of screening the risk group of diabetes and hypertension was about 97 percent, which was higher than preceding years’ record—that no development program was implemented, and higher than the performance target set for the present year. The new case rate of diabetes was not qualified, but hypertension one met the criteria. (2) Problems and obstacles for an implementation, especially for the input aspect were insufficient budget support for diabetes and hypertension screening, insufficient number of public relations, ineffective screening equipments, insufficient number of VHVs who worked for screening diseases, and short training period (2 days). The study suggested that local administrative organization offices should support for sufficient budget. Local health offices should also support adequate information for public and sufficient equipments for fieldworks. Furthermore, increased numbers of VHV specialists’ training and longer training session (3-5 days) should be doneen_US
dc.contributor.coadvisorวรางคณา ผลประเสริฐth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118388.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons