Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวาสนา เลิศมะเลา, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T01:10:29Z-
dc.date.available2023-07-07T01:10:29Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7430-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างกันในการ พัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) ศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ อาจารย์และเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จำนวน 11 แห่ง จำนวน 8,339 คน กลุ่มตัวอย่าง 382 คน คำนวณด้วยสูตร ทาโร่ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ส่วนแบบสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับสูงกว่าร้อยละ 80 (2) ระดับความสำเร็จในการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความแตกต่างกัน (3) ปัจจัยด้านการจัดการภาครัฐ แนวใหม่ และปัจจัยด้านทรัพยากรบุคคล มีอิทธิพลต่อการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 ตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยด้านสมรรถนะ การพัฒนามรรถนะการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ สามารถอธิบายความสัมพันธ์ ของตัวแปรได้ ร้อยละ 90.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ข้อเสนอแนะการวิจัย คือ ส่งเสริม ให้บุคลากรเข้าใจสมรรถนะหลัก และสมรรถนะในงาน สร้างขวัญ และกำลังใจในการทำงาน เปิดโอกาส ให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนยุทธ์ศาสตร์ ประชาสัมพันธ์เป้าหมายองค์การให้บุคลากรได้รับทราบ และหาแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานที่ขาดความต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.23en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ -- การบริหารth_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การ -- การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeOrganization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study successful level of organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region (2) compare differential level of organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region (3) study factors influencing the success of organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region (4) recommend appropriate guidelines for enhancing organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region. This study was a survey research. Population was lecturers and personnel from 11 Rajabhat Universities in Northeastern region at the total of 8,339 persons. The samples consisted of 382 people, calculated by using Taro Yamane formula. Research instruments were an open-ended questionnaire and an in-depth interview form. Statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, t-test, one-way ANOVA and multiple regression analysis. The research results revealed that (1) the percentage of successful level of organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region was higher than 80. (2) success level of organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region was different (3) new public management factors and human resource development factors influenced organization development toward high performance organization of Rajabhat Universities in Northeastern region in terms of 5 aspects, those were competency, human resource management, strategic management, teamworking and strategic leadership could explain the correlation between factors at 90% at statistical significance level at 0.05 (4) Recommendations were the promotion of personnel’s knowledge on core competencies and specific position competencies, motivation building, giving opportunities for personnel to participate in strategic planning, public relations the goals to public and solving problematic management in case of uncontinuousmanagement.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156017.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons